ข้าวหย่าฮู้ ถัมมะแน

ข้าวหย่าฮู้ ถัมมะแน

ข้าวหย่าฮู้ ถัมมะแน เป็นอาหารที่จะทำกันในช่วง “เหลินสามมน” ขึ้นสิบห้าค่ำ หรือวันมาฆบูชา (ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3) ซึ่งเป็นหนึ่งในประเพณี 12 เดือน ของชาวไทยใหญ่ ประเพณี“ข้าวหย่าฮู้ ถัมมะแน” เป็นประเพณีหนึ่งที่จัดขึ้นทุกปี และเป็นประเพณีที่มีความผูกพันกับชาวบ้านผู้ทำการเกษตรมาช้านานถือว่าเป็นประเพณีของชาวไทใหญ่จัดขึ้นและสืบทอดแก่ลูกหลานสืบมา

16.7558946, 98.5490519

เผยแพร่เมื่อ 27-11-2024 ผู้เช้าชม 48


ส้ามะเขือแจ้

ส้ามะเขือแจ้

ส้ามะเขือแจ้ หรือ ส้ามะเขือขื่น “มะเขือแจ้” เป็นภาษาเรียกทางภาคเหนือ ส่วน “มะเขือขื่น” คือภาษาเรียกทางภาคกลาง เป็นลูกสีเหลือง นำมาซอยบางๆ และปรุงรส คำว่า “ส้า” คือการนำมาปรุง จึงเรียกว่าส้ามะเขือนั่นเอง

16.7558946, 98.5490519

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 1,994


จะส่าน

จะส่าน

จะส่าน" เป็นอาหารของชาวไทใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายๆ กับก๋วยเตี๋ยวแห้งบ้านเรา แต่ความพิเศษของ "จะส่าน" จะมีเอกลักษณ์ที่เป็นของชาวไทใหญ่เอง ลักษณะเด่นของจะส่าน คือ ใช้เส้นชนิดเล็กปรุงด้วยกุ้งแห้งป่น แคบหมูชิ้นเล็ก หอมกระเทียมเจียว หมูบด น้ำตาลทราย น้ำมะนาว น้ำปลามีทั้งชนิดแห้ง และน้ำ

16.7558946, 98.5490519

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 1,597


แกงอุ๊บไก่

แกงอุ๊บไก่

อุ๊บไก่ หรือ อุ๊กไก่ เป็นอาหารของชาวไทใหญ่ ที่อาศัยอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่าทางตอนใต้ของจีน เมืองชายของของอินเดีย ลาว รวมถึงทางภาคเหนือของไทย อุ๊บไก่ คือ ไก่อบด้วยเครื่องแกงที่มีพริก หอม กระเทียม ขิง ตะไคร้ ปรุงรสด้วยถั่วเน่า เกลือ ซีอิ๊วและรับประทานคู่กับข้าวเหนียวเหลืองที่หุงด้วยขมิ้น

16.7553695, 98.3842016

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 13,845


Google search

Mic

มะม่วงหาวมะนาวโห่

มะม่วงหาวมะนาวโห่

มะม่วงหาวมะนาวโห่ เป็นพืชสมุนไพรไทยชื่อแปลกอีกชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์และสรรพคุณที่หลากหลาย โดยที่มะม่วงหาวมะนาวโห่จัดเป็นผลไม้ประเภทรับประทานผล

พลูคาว

พลูคาว

พลูคาวเป็นพืชล้มลุกที่พบได้ทั่วไปในแถบทวีปเอเชียในแถบเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงเวียดนาม ญี่ปุ่น รวมถึงไทยด้วย เป็นที่รู้จักกันดีในทางภาคเหนือ วิธี

จากเมืองนครชุม มาเป็นบ้านปากคลองสวนหมาก จากบ้านปากคลองสวนหมาก มาเป็นตำบลนครชุม

จากเมืองนครชุม มาเป็นบ้านปากคลองสวนหมาก จากบ้านปากคลองสวนหมาก มาเป็นตำบลนครชุม

นครชุม เป็นชื่อของเมืองโบราณในสมัยสุโขทัยต่อมาได้กลายเป็นเมืองร้างกว่า ๓๐๐ปี ในสมัยรัตนโกสินทร์ไม่มีชื่อเป็นที่รู้จัก ผู้คนทั่วไปคงเรียกบริเวณที่ตั

ลำดวน

ลำดวน

ลักษณะทั่วไป  ต้นเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางแตกกิ่งก้านสาขาตามข้อต้นลำต้น  เรียบเกลี้ยงไม่มีขน สูงประมาณ 3 – 8 เมตร  ใบเป็นไม้ใบ