พระกำแหงสงคราม(ฤกษ์ นุชนิยม)
พระกำแหงสงคราม(ฤกษ์ นุชนิยม) เกิดเมื่อวันที่ 8 กรกฏาคม พ.ศ. 2399 วันอังคารขึ้น หกค่ำ เดือนแปด ปีมะโรง ณ จวนเก่า จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรของพระกำแหงสงคราม(เหลี่ยม นุชนิยม) สืบสกุลโดยตรงมาจากพระยาเกียรติ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของพระเจ้านันทบุเรง(พระเจ้าหงสาวดี) ได้สามิภักดิ์ติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พร้อมกับพระยารามและพระมหาเถรคันฉ่อง ในคราวประกาศอิสระภาพ ณ เมืองแกลง ได้พึ่งพระบรมโพธิสมภารอยู่ด้วยความร่มเย็นเป็นสุขตลอดมา กาลล่วงมาจนถึงปู่ทวด คือพระยารามรณรงค์สงครามรามภักดีอภียพิริยะพาหะ(นุช)
16.4196308, 99.1705869
เผยแพร่เมื่อ 14-11-2023 ผู้เช้าชม 496
พระยาราม
พระยาราม นามเต็ม พระยารามรณรงค์ เดิมเป็นเจ้าเมืองกำแพงเพชร ครั้นเมื่อสมเด็จพระมหินทราธิราชขึ้นครองราชย์ ได้เรียกพระยารามไปไว้กรุงศรีอยุธยาและให้เลื่อนเป็นพระยาจันทบุรี สมเด็จพระมหินทราธิราชได้ทรงไว้วางพระทัยพระยารามมาก กรณียกิจที่สำคัญของพระองค์ต้องปรึกษาหารือพระยารามทุกครั้ง เช่น คราวที่ออกอุบายจะไปดีเมืองพิษณุโลก ซึ่งพระมหาธรรมราชาที่ 2 ครองอยู่ด้วยความแค้นพระทัยก็ปรึกษากับพระยารามเป็นความลับ แต่ทำไม่สำเร็จเพราะพระมหาธรรมราชาที่ 2 รู้ตัวก่อน โดยพระยาสีหราชเดโซบอกความลับให้ทราบ ดังนั้น พระยารามจึงเป็นไม้เบื่อไม้เมากับพระมหาธรรมราชาที่ 2 ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา จนกระทั่งสิ้นรัชสมัยของสมเด็จพระมหินทราธิราช
16.4196308, 99.1705869
เผยแพร่เมื่อ 14-11-2023 ผู้เช้าชม 549
นายธรรมนูญ ยายอด : ปราชญ์ชาวบ้าน แทงหยวก อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร
งานศิลปหัตถกรรมการแทงหยวกเป็นงานที่มีความสวยงามมีคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมเป็นงานที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นเป็นภูมิปัญญาที่สั่งสมมานาน ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะให้ความสนใจศึกษาแนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาให้เกิดเป็นรูปธรรมมากขึ้นเพื่อก่อให้เกิดรายได้ในครัวเรือนและชุมชน ช่างแทงหยวกจะต้องศึกษาและพัฒนารูปแบบลวดลายอุปกรณ์ที่ใช้ในการแทงหยวก ตลอดจนวิธีการและขั้นตอนการดำเนินงานทางธุรกิจอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอทำให้ครัวเรือนและชุมชนมีความยั่งยืนต่อไป
16.7217067, 99.2478327
เผยแพร่เมื่อ 27-06-2022 ผู้เช้าชม 499
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงมีพระนามเดิมว่า “สิน” (ชื่อจีนเรียกว่า “เซิ้นเซิ้นซิน) พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2277 พระราชบิดาเป็นชาวจีนแต้จิ๋ว ชื่อ “นายไหฮอง” ได้สมรสกับหญิงไทยชื่อ”นางนกเอี้ยง” ในช่วงรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (สมเด็จพระธรรมราชาธิราชที่ 3) ซึ่งเจ้าพระยาจักรีได้ขอไปอุปการะเป็นบุตรบุญธรรมตั้งแต่ครั้งเยาว์วัย ครั้นอายุ 5 ปี เจ้าพระยาจักรีได้นำไปฝากเรียนกับพระอาจารย์ทองดี วัดโกษาวาส (วัดคลัง) ทรงศึกษาหนังสือขอมและหนังสือไทยจนจบบริบูรณ์ ตลอดจนศึกษาพระไตรปิฎกจนแตกฉาน ต่อมาเมื่ออายุครบ 13 ปี เจ้าพระยาจักรีได้นำตัวเด็กชายสิน ไปถวายตัวเป็นมหาดเล็ก ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ทำราชการกับหลวงศักดิ์นายเวร ซึ่งเป็นบุตรของเจ้าพระยาจักรี เมื่อมีเวลาว่างจะศึกษาหาความรู้ กับอาจารย์ชาวจีน อาจารย์ชาวญวน และ อาจารย์ชาวแขก จนเชี่ยวชาญและสื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วทั้ง 3 ภาษา
16.8784698, 98.8779259
เผยแพร่เมื่อ 21-12-2020 ผู้เช้าชม 1,566
พระสมัครสรรพการ
พระสมัครสรรพการ (ช่วง ทัศนียานนท์) เป็นบุตรหลวงบำรุ่งอุทัยสถาน (พลอย ทัศนียานนท์) ต้นตระกูลทัศนียานนท์ ได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เม่อวันที่ 29 กันยายน 2457 สมรสกับนางสาวฟู อัมนะเศวต บุตรีพระยาชัยนฤนาถ ผู้ว่าราชกาลเมื่องชัยนาท มีบุตรรวมกัน 11 คน เสียชีวิตตั้งแต่ยังเยาว์ 2 คน
16.7555144, 98.5736416
เผยแพร่เมื่อ 21-12-2020 ผู้เช้าชม 1,677
พระเทพวัชราภรณ์
พระราชวัชราภรณ์(หลวงพ่อต้าน) อายุ 85 พรรษา สถานะเดิมชื่อต้าน นามสกุล ธรรมยศ เกิดวันที่ 21 กันยายน พ.ศ.2455 บิดา ชื่อนายเอี่ยม มารดาชื่อนางดาว บ้านเสากระโจง หมู่ที่ 4 ตำบลขนอนหลวง อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุปสมบทเมื่อวันอังคาร แรม 3 ค่ำ ปีมะเส็ง วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2484 วัดทองบ่อ ตำบลขนอนหลวง อำเภอบางปะอิน จ้งหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 11 วัดศรีตลาราม และดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดตาก-กำแพงเพชร-สุโขทัย-พิษณุโลก-อุตรดิตถ์(ธรรมยุต)และเป็นพระอุชฌายะ
16.7555144, 98.5736416
เผยแพร่เมื่อ 21-12-2020 ผู้เช้าชม 1,572
นายอุดร ตันติสุนทร
อุดร ตันติสุนทร เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2476 เป็นบุตรของนายซ้งกี่ กับนางแจง ตันติสุนทร และเป็นพี่ชายของนายรักษ์ ตันติสุนทร สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต และ ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับเลือกตั้งเป็น ส.ส. จังหวัดตาก ในปี 2512 – 2519 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำให้มีผลงานในด้านการพัฒนาการเกษตร ช่วยให้เกษตกรมีรายได้เพิ่มขึ้ และเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งสะพานมิตรภาพไทย – พม่า
16.8778126, 98.877919
เผยแพร่เมื่อ 21-12-2020 ผู้เช้าชม 1,862
นางสังวาลย์ อิ่มเอิบ
นางสังวาลย์ อิ่มเอิบ เกิดวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2456 บิดาชื่อนางจั่น น้อยเจริญ มารดาชื่อนางบุญมา น้อยเจริญ อยู่บ้านเลขที่ 96 ซอย 21 ถนนมหาดไทยบำรุง ตำบลระแหง อำเภอเมือง จังหวัดตาก เมื่ออายุ 7-8 ขวบได้ไปชมการเล่นหุ่นกระบอก "คณะแม่ตาด" จากอ่างทอง ซึ่งมาแสดงที่วัดมะเขือแจ้ เกิดชอบใจ ตาจันทร์จึงหาไม้มาแกะเป็นตัวเล็กๆให้เล่น
16.8778126, 98.877919
เผยแพร่เมื่อ 21-12-2020 ผู้เช้าชม 658
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพล ถนอม กิตติขจร ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลของนายพจน์ สารสิน จอมพลถนอม กิตติขจร ได้รับการซาวเสียงจากสภาผู้แทนราษฎรให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2501 บริหารประเทศได้ 9 เดือนเศษก็ลาออกจากตำแหน่งเพื่อเปิดทางให้ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ถึงแก่อสัญกรรม จอมพลถนอม กิตติขจร ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง
16.8778126, 98.877919
เผยแพร่เมื่อ 21-12-2020 ผู้เช้าชม 3,527
ประสิทธิ์ วัฒนศิริ
นายประสิทธิ์ วัฒนศิริ เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๔๗ ในหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ปากคลองลุน (บ้านโคนใต้) ซึ่งปัจจุบัน อยู่ในเขตหมู่ที่ ๑ ตำบลคณฑี อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร บิดาชื่อนายพวง แซ่ลิ้ม มารดาชื่อ นางปุย ได้เรียนหนังสือจนอ่านออก เขียนได้ ทั้งภาษาไทยและภาษาขอม จากสำนักเรียนวัดปราสาท บ้านโคนใต้ จากนั้นในปี ๒๔๖๑ ได้เรียนจบการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จากโรงเรียนประชาบาล อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชรหลังจากนั้นท่านได้ย้ายตามบิดาไปอยู่ตำบลหูกวาง อ.บรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ ในทางธรรมท่านสอบได้นักธรรมตรี หลังจากนั้นท่านได้อพยพกลับมาที่ตำบลคณฑีอีกครั้ง มาบุกเบิกบ้านโคนจนสำเร็จดังใจหมาย
16.3677254, 99.6360896
เผยแพร่เมื่อ 30-07-2020 ผู้เช้าชม 2,148
Google search
-
ฐานข้อมูล - 146 ประวัติความเป็นมา
- 170 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอคลองขลุง
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอบึงสามัคคี
- อำเภอลานกระบือ
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอเมืองตาก_ตาก
- อำเภอแม่สอด_ตาก
- 179 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 108 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 101 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 39 ของฝาก
วิถีชีวิตคนพรานกระต่ายกับของฝากขึ้นชื่ออำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร
คนพรานกระต่าย หรือ “พรานต๋าย” ตามภาษาถิ่นที่ใช้เรียกกัน มีวิถีชีวิตที่อิงกับธรรมชาติมาอย่างช้านานด้วยความที่พื้นที่มีแม่น้ำไหลผ่านเกิดเ
ชนเผ่าม้ง อำเภอคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
ชนเผ่าม้ง (Hmoob/Moob) เป็นสาขาหนึ่งของชนชาติจีน มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ในมณฑลไกวเจา มณฑลฮูนาน และอพยพเข้าอยู่ในมณฑลกวางสีและมณฑลยูนนานกว่า 500 ป
ส่างหม่องมีตัวตนจริงๆ ที่บ้านปากคลอง
ส่างหม่องเป็นชาวไทยใหญ่มาจากเมืองกุกกิก ประเทศพม่า เป็นคหบดี หรือมหาเศรษฐี ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นผู้มีการศึกษาดี มีชีวิตที่ทันสมัยเหมือนชาวตะวันตก
บ้านเสาสูง เป็นชื่อที่คนในรุ่นปัจจุบันของเมืองตากเลือนไปแล้วตามการเปลี่ยนผ่านของเมือง คำว่าเสาสูงในที่นี้หมายถึงเสารับสัญญาโทรเลขที่ส่งตรงมาจากชุมส