ศาลเจ้าพ่อถ้ำกระต่ายทอง
สถานที่ศักดิ์สิทธิแสดงถึงความเป็นมาของชาวอำเภอพรานกระต่ายว่า มีชายคนหนึ่งมีอาชีพในทางล่าสัตว์ ตั้งนิวาสสถานอยู่บริเวณเมืองพาน ได้ออกป่ามาล่าสัตว์ถึงบริเวณที่ราบลุ่มแถววัดโพธิ์ปัจจุบัน เพราะบริเวณนี้มีน้ำอุดม หญ้าและต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปี พวกสัตว์ต่างๆ ชอบมาอาศัยหากินอยู่บริเวณนี้
16.6743672, 99.567225
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,589
สระน้ำนันทวดี
สระน้ำนันทวดี สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และเป็นสถานที่จัดงานสืบสานงานประเพณีลอยกระทงทุกปีของอำเภอพรานกระต่าย
16.6743217, 99.582546
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,159
หินอ่อนพรานกระต่าย
หินอ่อนพรานกระต่ายถูกค้นพบเมื่อประมาณปี พ.ศ.2512 โดยบริษัทสว่างหินอ่อน ซึ่งพบว่าหินคลุกที่ทางบริษัทโม่จำหน่ายนั้นมีหินอ่อนปนอยู่ จึงได้ขุดเจาะแกนภูเขาและพบว่าด้านในมีหินอ่อนสีเขียว สีชมพูอมเทา สีเขียวเหลือง สีขาวอมเทา สีขาวอมเทา จุดเด่นที่สำคัญคือหินอ่อนสีชมพู สามารถพบได้แห่งเดียวในประเทศไทย ผลิตภัณฑ์แรกที่ริเริ่มนำมาใช้จะเป็นหินปูพื้น ปูผนัง ต่อมาได้มีการนำหินอ่อนมาแกะสลัก กลึงเป็นรูปแบบต่างๆ จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์จำหน่ายและเป็นสินค้าประจำอำเภอพรานกระต่าย
16.6713686, 99.5445734
เผยแพร่เมื่อ 25-02-2017 ผู้เช้าชม 2,865
Google search
-
ฐานข้อมูล - 146 ประวัติความเป็นมา
- 170 แหล่งท่องเที่ยว
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอโกสัมพีนคร
- อำเภอคลองขลุง
- อำเภอไทรงาม
- อำเภอคลองลาน
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอปางศิลาทอง
- อำเภอลานกระบือ
- อำเภอเมืองตาก_ตาก
- อำเภออุ้มผาง_ตาก
- อำเภอพบพระ_ตาก
- อำเภอบ้านตาก_ตาก
- อำเภอสามเงา_ตาก
- อำเภอแม่สอด_ตาก
- อำเภอแม่ระมาด_ตาก
- อำเภอท่าสองยาง_ตาก
- 37 บุคคลสำคัญ
- 179 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 108 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 101 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 39 ของฝาก
เมื่อได้พูดถึงพระกำแพงพลูจีบไปแล้ว ทำให้นึกถึงพระกำแพงลีลาชั้นนำอีกองค์หนึ่ง ซึ่งปัจจุบันนี้เป็นพระเครื่องในระดับตำนานที่หาชมของแท้ได้ยากยิ่งนัก พร
บ้านพักสไตย์กระเหรี่ยงปกากะญอ เป็นบ้านไม้ที่ปลูกในธรรมชาติต้นไม้ร่มรื่น อากาศที่นี่จะเย็นตลอดทั้งปีเพราะมีต้นไม้ตลอดพื้นที่ ตั้งอยู่ใกล้ริิมน้ำปิง&
กระแตไต่ไม้เป็นไม้ล้มลุกประเภทเฟิร์นสามารถพบกระแตไต่ไม้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ อาจจะพบขึ้นตามต้นไม้ ตามโขดหิน ตามป่าดิบ
เมืองไตรตรึงษ์ตามเอกสารประชุมพงศาวดาร
มีหลักฐานเกี่ยวกับเมืองไตรตรึงษ์และพระเจ้าอู่ทองว่าเป็นใครมาจากไหน ปรากฏอยู่ในหนังสือประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 ซึ่งเขียนไว้มีความว่า ใน