ภาษาถิ่นลานกระบือ
ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในท้องถิ่นหนึ่งของประเทศไทย ในประเทศไทยมีภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ และภาษาถิ่นเหนือ ที่เรียกกันว่าภาษาล้านนา ภาษาถิ่นเป็นภาษาเดียวกับภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างแตกต่างผิดเพี้ยนไปจากภาษากลาง และความแตกต่างนั้น มักเป็นระบบ เช่น คำที่ใช้ภาษากรุงเทพฯใช้ ร ภาษาเหนือจะเป็น ฮ เช่นคำว่า รัก เป็นฮัก คำว่า เรือน เป็นเฮือน คำว่า ร้อง เป็น ฮ้อง เป็นต้น ในแต่ละภาษาถิ่น จะมีภาษาถิ่นย่อยลงไปอีก ภาษาถิ่นทุกภาษาเป็นภาษาที่สำคัญในภาษาไทย เพราะเป็นภาษาที่บันทึกเรื่องราวประสบการณ์ และวัฒนธรรม ทุกแขนงของท้องถิ่น เราจึงควรรักษาภาษาถิ่นทุกถิ่นไว้ใช้ให้ถูกต้องเพื่อเป็นมรดกของชาติสืบไป
16.6172991, 99.7389869
เผยแพร่เมื่อ 09-03-2020 ผู้เช้าชม 8,096
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอลานกระบือ
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
ลักษณะทั่วไป เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กสูงประมาณ 0.5-2 เมตร ตั้งตรง สามารถแตกกิ่งก้านได้มากตามลำต้น และกิ่งก้านได้มากตามลำต้น และกิ่งก้าน จะมีขนอ่อนนุ่มสี
ความเป็นมาของพื้นที่พรานกระต่าย ที่ผู้สูงอายุชาวพื้นบ้านเล่าสู่ลูกหลานบเนื่องกันมาหลายชั่วคน และยังมีร่องรอยวัตถุโบราณ ลักษณะภูมิประเทศทางธรรมชาติพ
มะพลับ มีถิ่นกำเนิดในป่าดงดิบของประเทศไทย อินเดีย และในชวาเกาะเซลีเบส โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเปลาตรง มีความสูงของต้นประมาณ 8-15
เจ้าอาวาสวัดแก้วสุริย์ฉาย และเจ้าคณะตำบลลานกระบือ เล่าประวัติวัดแก้วสุริย์ฉายว่า ได้สร้างราวพุทธศักราช 2400 ในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์