ภาษาถิ่นลานกระบือ

ภาษาถิ่นลานกระบือ

ภาษาถิ่น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในท้องถิ่นหนึ่งของประเทศไทย ในประเทศไทยมีภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต้ และภาษาถิ่นเหนือ ที่เรียกกันว่าภาษาล้านนา ภาษาถิ่นเป็นภาษาเดียวกับภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างแตกต่างผิดเพี้ยนไปจากภาษากลาง และความแตกต่างนั้น มักเป็นระบบ เช่น คำที่ใช้ภาษากรุงเทพฯใช้ ร ภาษาเหนือจะเป็น ฮ เช่นคำว่า รัก เป็นฮัก คำว่า เรือน เป็นเฮือน คำว่า ร้อง เป็น ฮ้อง เป็นต้น ในแต่ละภาษาถิ่น จะมีภาษาถิ่นย่อยลงไปอีก ภาษาถิ่นทุกภาษาเป็นภาษาที่สำคัญในภาษาไทย เพราะเป็นภาษาที่บันทึกเรื่องราวประสบการณ์ และวัฒนธรรม ทุกแขนงของท้องถิ่น เราจึงควรรักษาภาษาถิ่นทุกถิ่นไว้ใช้ให้ถูกต้องเพื่อเป็นมรดกของชาติสืบไป

16.6172991, 99.7389869

เผยแพร่เมื่อ 09-03-2020 ผู้เช้าชม 6,894


Google search

Mic

กรุนาตาคำ

กรุนาตาคำ

ที่ตั้งกรุพระวัดนาตาคำ อยู่ทิศใต้ของป้อมบ้านเศรษฐี ประมาณ 800 เมตร ปัจจุบันถูกขุดเป็นบ่อปลา ประเภทพระที่พบ ได้แก่ พระซุ้มกอพิมพ์กลาง พระซุ้มกอขนมเป

โบสถ์ศิลาแลง

โบสถ์ศิลาแลง

วัดเป็นแหล่งรวมของศิลปกรรมอันล้ำค่าทั้งด้านสถาปัตยกรรม ปฏิมากรรมและจิตรกรรมที่ศิลปินได้ถ่ายทอดลักษณะเด่นของคำสอนทางพระพุทธศาสนาออกมาในงานศิลปะอย่าง

ต้นกระบากใหญ่

ต้นกระบากใหญ่

ต้นกระบากใหญ่ ขึ้นในบริเวณหุบเขาของป่าดงดิบ มีขนาดความโตวัดโดยรอบได้ 16.10 เมตร ความสูง 50 เมตร ต้องใช้คนประมาณ 12 คน จึงจะโอบได้รอบลำต้น อยู่ห่างจ

ไส้เมี่ยงเหรียญทอง

ไส้เมี่ยงเหรียญทอง

ไส้เมี่ยง เป็นผลิตภัณฑ์ที่สำหรับขบเคี้ยว เป็นของฝาก เป็นผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากวัตถุดิบในท้องถิ่น เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการทำอาชีพเสริม