วัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม
วัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม เป็นวัดราษฏร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริ่มสร้างวัดเมื่อ พ.ศ. 2492 โดยชาวบ้านจากจังหวัดนครปฐม ราชบุรี ซึ่งมีเชื้อสายลาวครั่งและลาวเวียง ได้อพยพโยกย้ายถิ่นฐานมาทำมาหากินที่บริเวณอำเภอขาณุวรลักษบุรี จากนั้นไม่นานชาวอีสาน จากจังหวัดร้อยเอ็ด ก็อพยพมาสมทบกันอยู่เพิ่มเติมอีก ในขณะนั้นบริเวณนี้ยังเป็นป่าดงดิบ จนเมื่อมีประชาชนทยอยมาอยู่ด้วยกันเพิ่มมากขึ้นจึงได้นิมนต์ หลวงปู่เบี้ยว ถาวริโก จากบ้านโป่ง จ.ราชบุรี มาสร้างวัดอยู่ บริเวณโรงเรียนอนุบาลบึงสามัคคี (ในขณะนี้) จากนั้นหลวงปู่ จึงย้ายที่ตั้งวัดมาอยู่ในที่ตั้งในปัจจุบัน ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2513 มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "วัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม" สาเหตุที่ชื่อทุ่งสนุ่น เพราะในอดีตบริเวณนี้มีต้นสนุ่น (ใคร้นุ่น) เต็มท้องทุ่งนา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2523
16.156245, 99.9392023
เผยแพร่เมื่อ 06-09-2019 ผู้เช้าชม 752
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอโกสัมพีนคร
- อำเภอคลองขลุง
- อำเภอไทรงาม
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอบึงสามัคคี
- อำเภอลานกระบือ
- อำเภอเมืองตาก_ตาก
- อำเภออุ้มผาง_ตาก
- อำเภอพบพระ_ตาก
- อำเภอวังเจ้า_ตาก
- อำเภอบ้านตาก_ตาก
- อำเภอสามเงา_ตาก
- อำเภอแม่สอด_ตาก
- อำเภอแม่ระมาด_ตาก
- อำเภอท่าสองยาง_ตาก
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
องค์การบริหารส่วนตำบลคุยบ้านโอง
เดิมทีในหมู่บ้านนี้มีบริเวณที่เป็นที่ดอนน้ำท่วมไม่ถึง ซึ่งเรียกว่า "คุย" สัตว์ชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายสุนัขจิ้งจอก แต่ขน
จุดชมวิวถนนลอยฟ้านี้ ตั้งอยู่สูงจากระดับน้ำทะเล มากถึง 1,100 เมตร เป็นเส้นทางที่จะไปยังอำเภออุ้มผาง โดยระยะทางจากอำเภอแม่สอดไปยังอำเภออุ้มผาง เพียง
วัดเชิงหวาย เป็นวัดร้าง ที่อยู่นอกเขตอุทยานประวัติศาสตร์ เป็นวัดขนาดใหญ่ มีเจดีย์ประธานทรงลังกา ที่มีรูปทรงชะลูดงดงาม ฐานมี 4 เหลี่ยม ซ้อนกัน 4 ชั้
กลุ่มชาติพันธุ์ ชุมชนและสังคม : หมู่บ้านกะเหรี่ยงน้ำตกคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร
กะเหรี่ยง เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง เดิมอาศัยอยู่แถบบริเวณต้นแม่น้ำสาละวินของพม่า ต่อมาได้อพยพเข้าสู่ประเทศพม่าและประเทศไทย มีภาษาพูดเรียกว่า ภาษากะ