เสื่อกกบ้านหนองนกชุม ตำบลทุ่งทราย อำเภอทรายทองวัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร

เสื่อกกบ้านหนองนกชุม ตำบลทุ่งทราย อำเภอทรายทองวัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร

เสื่อกก เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีใช้กันอยู่ทั่วไปทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ทั้งนี้เพราะต้นกกเป็นพืชธรรมชาติที่ขึ้นอยู่ทั่วทุกภูมิภาค และภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นที่นำต้นกกมาแปรสภาพก็มีลักษณะคล้ายกัน หรือได้อิทธิพลทางความคิดจากกันและกัน ทำให้เสื่อกกถูกจัดได้ว่าเป็นปัจจัยจำเป็นอย่างหนึ่ง ต่อการดำรงชีวิตของผู้คนในอดีต การทอเสื่อกก เป็นภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ที่นำเอาต้นกกมาแปรสภาพให้เป็นเส้น แล้วสานทอให้เป็นแผ่นผืน เพื่อนำมาใช้ปูลาดรองนั่งหรือนอนหรือทำธุรกรรมต่าง ๆ ตลอดจนทำพิธีกรรมทางศาสนา และความเชื่อ

16.3004123, 99.8069417

เผยแพร่เมื่อ 01-08-2022 ผู้เช้าชม 1,051


กลุ่มผลิตภัณฑ์เป่าแก้วบ้านโนนจั่น

กลุ่มผลิตภัณฑ์เป่าแก้วบ้านโนนจั่น

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเป่าแก้ว ส่วนใหญ่จะเป่าเป็นรูปสัตว์ในเทพนิยาย สัตว์ในท่าทางต่างๆ และสามารถเป่าเป็นรูปต่างๆ ได้ตามสั่ง ซึ่งใช้ตกแต่งประดับเพื่อความสวยงาม และใช้เป็นของชำร่วย ในการพิธีต่างๆ ปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างมากในต่างประเทศ โดยเฉพาะที่ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา เยอรมัน ฝรั่งเศสและญี่ปุ่น ปัจจุบันชาวบ้านโนนจั่น หมู่ 1 ตำบลทุ่งทอง อำเภอทรายทองวัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร ได้ประกอบอาชีพหัตถกรรมเป่าแก้วเป็นจำนวนมาก โดยการส่งเสริมของนายณรงค์ แสงอะโน ประธานกลุ่มเป่าแก้ว บ้านโนนจั่น ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เลี้ยงครอบครัวเป็นจำนวนมาก 

16.3447978, 99.8708770

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,054


Google search

Mic

นิว รีสอร์ท

นิว รีสอร์ท

นิว รีสอร์ท  เป็นรีสอร์ทใกล้ตัวเมืองกำแพงเพชรตั้งอยู่ใกล้ๆ แม่น้ำปิง บรรยากาศร่มรื่นด้วยต้นไม้และน้ำตกแนวธรรมชาติ มีห้องพักให้ท่านได้เลือ

ขนมครก

ขนมครก

ขนมครก เป็นขนมไทยโบราณชนิดหนึ่ง ทำจากแป้งน้ำตาลและกะทิ แล้วเทลงบนเตาหลุม เวลาจะรับประทานต้องแคะออกมา เป็นแผ่นวงกลม แล้วมักวางประกบกันตอนรับประทาน เ

คำขวัญประจำจังหวัดกำแพงเพชร

คำขวัญประจำจังหวัดกำแพงเพชร

กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง พระแสงฯล้ำค่า ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก  กรุพระเครื่อง หมายถึง จังหวัดกำแพงเพช

เมืองไตรตรึงษ์ เมืองแห่งการกำเนิดราชวงศ์เชียงราย

เมืองไตรตรึงษ์ เมืองแห่งการกำเนิดราชวงศ์เชียงราย

ในหนังสือพระราชพงศาวดาร ฉบับ รศ. 125 ซึ่งดำเนินเรื่องตามต้นพระราชพงศาวดารได้กล่าวไว้ดังนี้ “เดิมพระเจ้าแผ่นดินพระองค์หนึ่งครองราชย์สมบัติอยู่