ความเชื่อของสังคมไทยกับประเพณีท้องถิ่นถ้ำกระต่ายทอง จังหวัดกำแพงเพชร

ความเชื่อของสังคมไทยกับประเพณีท้องถิ่นถ้ำกระต่ายทอง จังหวัดกำแพงเพชร

ระบบความเชื่อในสังคมไทยนั้น ล้วนแล้วเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่สภาพแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรมที่ผู้คนเหล่านั้นอาศัยอยู่ทั้งสิ้น อาทิ ความเชื่อเกี่ยวกับการโกนผมลูกน้อย ความเชื่อเกี่ยวกับการจับชายผ้าเหลือง(บวชพระ)ของพ่อแม่ที่หวังจะได้ขึ้นสวรรค์จากการบวชลูกชายหรือแม้กระทั่งความเชื่อหลังความตาย อาทิ การกรวดน้ำหลังทำบุญเพื่อให้ผลบุญไปถึงผู้ที่ต้องการอุทิศส่วนกุศลให้ก็ตาม นอกจากนั้นแล้วมนุษย์เรายังมีความเชื่อเกี่ยวกับการไหว้ โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย คนไทยจะแสดงออกถึงความเคารพผ่านการกราบไหว้ แก่ผู้อาวุโสหรือผู้ที่ตนเองเคารพรัก แม้กระทั่งการกราบไหว้สิ่งเหนือธรรมชาติ ซึ่งเชื่อว่าสิ่งเหนือธรรมชาติเหล่านั้นมีอำนาจดลบันดาลต่อการดำเนินชีวิตความเชื่อเหล่านี้สืบทอดจาดรุ่นสู่รุ่น

16.7221771, 99.3879387

เผยแพร่เมื่อ 13-06-2022 ผู้เช้าชม 385


การอนุรักษ์พันธุ์ไก่ชน

การอนุรักษ์พันธุ์ไก่ชน

ไก่เป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์ มาก่อนประวัติศาสตร์ โดยธรรมชาติ กระบวนการวิวัฒนาการของไก่จะคัดเลือกสายพันธุ์ ตัวที่แข็งแรงทนทานเท่านั้นที่จะรอดชีวิตมาได้ การอยู่ร่วมกันอย่างพึ่งพาระหว่างคนและไก่ จึงมีมาแต่ยุคโบราณ คือการนำไก่ป่ามาเลี้ยงไว้ที่บ้านเพื่อกินปลวกกินแมลง และ เลี้ยงไก่เพื่อบริโภคเนื้อและไข่ นับว่าไก่เป็นสัตว์เลี้ยงสารพัดประโยชน์ของคนทั่วโลกมาช้านาน

16.7218483, 99.3879412

เผยแพร่เมื่อ 14-02-2018 ผู้เช้าชม 4,973


Google search

Mic

ชุมชนโบราณบ้านสระตาพรม

ชุมชนโบราณบ้านสระตาพรม

ชุมชนโบราณบ้านสระตาพรม ตำบลดอนแตง พบบริเวณที่มีคันดินล้อมรอบรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่และเล็กสลับกันรวม 5 แห่ง พื้นที่ 2 ใน 3 ของแหล่งโบราณคดีเหล่านี้คื

กินปลาทุ่งเศรษฐี กำแพงเพชร

กินปลาทุ่งเศรษฐี กำแพงเพชร

ร้านอาหารอร่อย โดดเด่นที่เมนูปลาขึ้นชื่อ ราคาไม่แพง ใช้ปลาแม่น้ำปิงเป็นส่วนใหญ่ ทำให้ได้เนื้อปลาอร่อยไม่มีไขมัน และเนื

บันทึกประวัติศาสตร์ไฟไหม้เมืองกำแพงเพชรครั้งใหญ่ที่สุด

บันทึกประวัติศาสตร์ไฟไหม้เมืองกำแพงเพชรครั้งใหญ่ที่สุด

เมื่อวันศุกร์ ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2506 ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 6 ปีเถาะ ค.ศ. 1963 เวลาประมาณ 10.00 นาฬิกา เกิดไฟไหม้กำแพงเพชรครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์

จันทนา

จันทนา

จันทนา จัดเป็นไม้พุ่มขนาดกลาง มีความสูงของต้นได้ถึง 2-5 เมตร (บ้างว่าสูงได้ประมาณ 5-10 เมตร) กิ่งแขนงแตกเป็นพุ่มแน่น ลำต้นเดี่ยวตั้งตรง เปลือก