นกเงือก นอกจากจะเป็นสัญลักษณ์ของรักแท้ ยังเป็นนักปลูกป่ามือฉมัง เป็นกลไกสำคัญตามกระบวนการทางธรรมชาติในการขยายพันธุ์พืช และสร้างความหลากหลายให้กับป่าใหญ่ มูลนิธิศึกษาวิจัยนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ทำงานด้านการอนุรักษ์นกเงือก ต้องการสร้างความตระหนักรู้ให้กับประชาชน และทำให้เห็นคุณค่าของงานอนุรักษ์ จึงได้กำหนดให้วันที่ 13 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น วันรักนกเงือกโดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา
นกเงือก (Hornbills) เป็นสัตว์โบราณถือกำเนิดมาเมื่อประมาณ 50-60 ล้านปี มีจุดเด่นตรงจะงอยปากหนาที่ใหญ่ รวมทั้งมีโหนกทางด้านบนเป็นโพรง ซึ่งภายในโพรงมีเนื้อเยื่อคล้ายฟองน้ำ เนื่องจากธรรมชาติของนกเงือกมีลิ้นที่สั้น เราจึงมักได้เห็นภาพการกินอาหารของพวกมันโดยการจับอาหารอยู่ที่ส่วนปลายปากแล้วโยนกลับลงคอ อาหารหลักๆ ของนกกลุ่มนี้ คือ ผลไม้ และสัตว์เลื้อยคลานเล็กๆ
ลักษณะของตัวนกจะมีทั้งที่มีขนสีดำ-ขาว บางชนิดอาจจะมีสีอื่นๆ บ้าง อย่าง น้ำตาล หรือเทา ส่วนที่ถือว่าฉูดฉาดที่สุดบนตัวนกเงือกจะอยู่ที่บริเวณหนังคอ ไม่ก็ขอบตา มีตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงใหญ่มาก บางชนิดอาจใหญ่ถึง 1.5 เมตร ขณะที่เมื่อกางปีกออกอาจวัดความยาวของปีกได้ถึง 2 เมตร เลยทีเดียว และด้วยความที่มีปีกใหญ่และแข็งแรง เวลานกเงือกบินจึงมักส่งเสียงดัง
จากการศึกษาของนักวิชาการพบว่า นกเงือกทั่วโลกมีอยู่ราว 55 ชนิด สำหรับประเทศไทยพบอยู่ 13 ชนิด ได้แก่
เผยแพร่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
เผยแพร่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
เผยแพร่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
เผยแพร่ 13 กุมภาพันธ์ 2566
โดยการใช้เว็บไซต์ของ KPRU คุณรับทราบว่าคุณได้อ่านและทำความเข้าใจ นโยบายข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) และข้อกำหนดในการให้บริการ ของเรา ยอมรับ
แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาบัณฑิตและท้องถิ่น
สำนักวิทยบริการฯ
เปิดให้บริการ ช่วงเปิดภาคเรียน
เวลา 08.30 น. - 16.30 น. วัน จันทร์ - เสาร์
เวลา 08.30 น. - 16.30 น. วัน อาทิตย์
เปิดให้บริการ ช่วงปิดภาคเรียน
เวลา 08.30 น. - 16.30 น. ทุกวัน
ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ หรือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร กำหนด
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
เลขที่ 69 หมู่ที่ 1 ตำบลนครชุม อำเภอเมืองจังหวัดกำแพงเพชร 62000
โทรศัพท์ 055-706555 ต่อ 1503
เว็บไชต์ : https://arit.kpru.ac.th
ติดต่อผู้ดูแลเว็บ : anucha_pu@kpru.ac.th