วัดหม่องกาเล
เดิมชื่อวัดใดไม่ปรากฏชัดเจนชาวบ้านเมืองนครชุมเรียกตามภูมินามที่พบเห็น โดยสันนิษฐานว่า บริเวณที่ค้นพบวัด อยู่ในที่จับจองของชาวพม่า ที่ชื่อหม่องกาเล ซึ่งสืบหาลูกหลานของท่านไม่ได้ รู้แต่ว่าหลังจากหม่องกาเล ที่บริเวณนั้น เป็นที่ครอบครองของตาหมอหร่อง ตาหมอหร่อง มีลูกเขยชื่อนายจันทร์ ได้ครอบครองที่ดินบริเวณนี้ต่อมา และได้ขายที่ดินทั้งหมดให้ผู้อื่น
16.4676219, 99.5069852
เผยแพร่เมื่อ 25-02-2017 ผู้เช้าชม 3,413
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
เเทนหินเเละหินบด ศิลปะลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16-17) พบที่เมืองไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร
จากการสืบค้น หลายร้อยปีที่ผ่านมามีชนกลุ่มหนึ่งเป็นชาวไทยภูเขา โดยเฉพาะชาวปะกาเกอะญอ อพยพมาจากประเทศพม่าและทางตอนใต้ของจีน เข้าไปตั้งถิ่นฐานทำมาหากิ
กล้วยฉาบ เป็นขนมประเภทของว่าง รับประทานเล่นในชุมชนมานานแล้ว เนื่องจากกล้วยเป็นต้นไม้ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน โดยเฉพาะกล้วยไข่
อำเภอคลองลานมีศูนย์ส่งเสริมหัตถกรรมเครื่องเงินชาวเขา จังหวัดกำแพงเพชร ตั้งอยู่ที่หมู่ 9 บ้านคลองเตย เส้นทางคลองลาน - อุ้มผาง กม.ที่ 42 ศูนย์นี้จะจำ