เเท่นหินเเละหินบด
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้ชม 3,738
[16.4880015, 99.520214, เเท่นหินเเละหินบด]
ชื่อโบราณวัตถุ : เเทนหินเเละหินบด
แบบศิลปะ : ศิลปะลพบุรี
ชนิด : สำริด
ขนาด : กว้างประมาณ ๑๕ ซนติเมตร หนาประมาณ ๑๐ เซนติเมตร
อายุสมัย : (พุทธศตวรรษที่ 16-17)
ลักษณะ : หินบดยามีส่วนประกอบคือ แท่นหิน และลูกบดหิน แท่นหินมักสกัดหินเป็นแท่นสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตา กว้างประมาณ ๑๕ ซนติเมตร หนาประมาณ ๑๐ เซนติเมตร ส่วนลูกบดหิน สกัดหินเป็นรูปทรงกระบอก ปลายมน ๒ ข้าง ลูกบดหินมีความยาวประมาณ ๒๐ เซนติเมตร
ประโยชน์ใช้สอย : เป็นเครื่องมือบดยาแผนโบราณให้ละเอียด เพื่อทำเป็นยาใช้รักษาโรคต่างๆ
ประวัติ : สำหรับการใช้แท่นหินบดที่ใช้กันในพื้นบ้านคงใช้ตัวยาสมุนไพร ทา ต้ม และบดตัวยาให้ละเอียดเก็บเป็นผงหรือเม็ดไว้ได้นาน รวมทั้งสามารถละลายน้ำได้เร็ว วิธีใช้หินบดยา ก่อนใช้ต้องนำเอาตัวยาจากสมุนไพรไปใส่ครกไม้หรือครกหินตำให้ละเอียดเสียก่อน ใช้ตะแกรงหรือแร่งใส่ตัวยาร่อน นำผลซึ่งร่อนนั้นไปผสมกับตัวยาอื่นๆ ตามสัดส่วนของการทำยาแผนโบราณ จากนั้นวางยาไว้ในแท่นหินทีละน้อยแล้วจับลูกหินบดยากดทับแท่นหินครูดไปมา ขณะบดยาจะใช้น้ำ น้ำผึ้งพรมให้ยาเปยก บดจนตัวยาเข้ากันก็นำไปปั้นเป็นเม็ดเล็กๆ ปัจจุบันมีเครื่องมือที่ทันสมัยสะดวกและรวดเร็วเข้ามาแทนที่ การใช้แท่นหินบดยาจึงไม่ค่อยมีให้เห็นแล้ว
สถานที่พบ : พบที่เมืองไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำเเพงเชร
ภาพโดย : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet
คำสำคัญ : เเท่นหินเเละหินบด
ที่มา : เลขที่ 104/5 ถนนปิ่นดำริห์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร 62000
รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). เเท่นหินเเละหินบด. สืบค้น 11 ธันวาคม 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=318&code_db=610012&code_type=01
Google search
หุ่นจำลองรูปมวยปล้ำ ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20)
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 765
ท่อนองค์เทวสตรี ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) เดิมประดิษฐานในเมืองกำแพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,040
พระพิมพ์ชินปางสมาธิ ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒o) พบจากกรุวัดอาวาสน้อย จังหวัดกำเเพงเพชร นายพจนารถ พจนพาที มอบให้เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 3,390
ใบเสมาหินชนวน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21 - 22) มีขนาด สูง 245 เซนติเมตร กว้าง 74 เซนติเมตร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,238
หม้อตาล ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒o-๒๓)
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 3,426
ตามประวัติเดิมหลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ที่วัดจอมทอง อ.จอมทองจ.เชียงใหม่ เมื่อครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราชยกทัพไปปราบหัวเมืองเหนือ ขณะเสด็จกลับผ่านเมืองพิจิตร พระพิจิตรเจ้าเมืองได้กราบบังคมทูลว่าตนต้องการพระพุทธรูปประจำเมือง เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จพระราชดำเนินกลับมาจากเชียงใหม่จึงทรงอัญเชิญหลวงพ่อเพชร ล่องแพมาทางลำน้ำปิง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อเพชรประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรก่อน และทรงแจ้งให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ พระพิจิตรได้รับทราบจึงนำชาวบ้านจำนวนมากไปเมืองกำแพงเพชร เพื่อทำการสักการะแล้วอัญเชิญ หลวงพ่อเพชรแห่แหน มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดนครชุม เมืองพิจิตร(เก่า) ส่วนหลวงพ่อเพชรที่อยู่วัดปราสาทเป็นพระเนื้อสำริด
เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 680
ตะเกียงเผา ศิลปะทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖)พบที่เมืองไตรตรึ่งษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 2,531
กระเบื้องกาบกล้วย ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบจากการขุดที่วัดช้างรอบ จังหวัดกำเเพงเพชร ระหว่าง พ.ศ. 2508-2515
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,451
ท้าวกุเวร กรุทุ่งเศรษฐี ศิลปะสมัยพระยาลิไท ปลายสมัยสุโขทัย สันนิษฐานกันว่า พระเจ้าแผ่นดินทรงฉลองปีพุทธชยันตี พ.ศ.1900 พบที่ทุ่งเศรษฐี จังหวัดกำแพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 09-03-2017 ผู้เช้าชม 4,598
โอ่งสังคโลก ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19 - 20) พบที่ วัดช้าง (วัดนาควัชรโสภณ) อำเภอเมืองกำแพงเพชร มีขนาด สูง 105 เซนติเมตร ปากกว้าง 34 เซนติเมตร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 4,383