มหาหิงคุ์
มหาหิงคุ์ คือ ชันน้ำมันหรือยางที่ได้มาจากหัวรากใต้ดินหรือลำต้นของพืชในตระกูล Ferula เป็นสีเหลืองอมสีน้ำตาลและมีกลิ่นฉุน ต้นมหาหิงคุ์ (Ferula assa-foetida L.) จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 2 เมตร มีหัวอยู่ใต้ดินและมีรากขนาดใหญ่ ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง ผิวลำต้นแตกเป็นร่องๆ ที่โคนต้นจะมีใบแทงขึ้นมาจากรากใต้ดิน ใบมหาหิงคุ์ ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก 3-4 คู่ แต่ช่วงบนของลำต้นของใบจะเป็น 1-2 คู่ ใบหนาและร่วงได้ง่าย ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปกลมรีหรือรูปไข่รียาว เป็นสีเขียวอมเทา ขอบใบมีฟันเลื่อยเล็ก ส่วนก้านใบยาวประมาณ 50 เซนติเมตร
16.4258401, 99.2157273
เผยแพร่เมื่อ 09-07-2020 ผู้เช้าชม 7,935
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
เครื่องเงิน จังหวัดตากมีชื่อเสียงในด้านงานฝีมือเครื่องเงินอันประณีต ช่างฝีมือผู้มีทักษะในภูมิภาคได้ถ่ายทอดความเชี่ยวชาญจากรุ่นสู่รุ่น สร้างสรรค์เคร
วัดฤกษ์หร่ายสามัคคี เริ่มแรก สร้างวัด ได้ปั้นพระพุทธรูป ปางนาคปรก 1 องค์ หน้าตักกว้าง 5 เมตร โดยก่ออิฐ แกนไม้ ต่อมาไม้ผุท
ม่อนปุยหมอก เป็นจุดที่ชมทะเลหมอกได้กว้างไกลและชมพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตกได้งดงามอีกแห่งหนึ่ง การเดินทางจากตัวอุทยาน ต้องเดินทางขึ้นไปด้วย
ชนเผ่าม้ง : การหมั้น การแต่งงาน
ในอดีตการหมั้นของม้ง จะนิยมหมั้นระหว่างญาติลูกพี่ลูกน้องต่างแซ่กัน กล่าวคือ ลูกของพี่ หรือน้องชาย กับลูกของพี่ หรือน้องสาว การหมั้นจะกระทำตั้งแต่บุ