วัดไตรภูมิ

วัดไตรภูมิ

วัดไตรภูมิสันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นในสมัยกรุงสุโขทัย จากหลักฐานภายในวัดมีพระพุทธรูปเนื้อสัมฤทธิ์สมัยสุโขทัย ประดิษฐานบนฐานชุกชี ภายในวิหาร (ปัจจุบันได้บูรณะใหม่ทั้งวิหารและหลวงพ่อสัมฤทธิ์) มีวัดโพธาราม (ปัจจุบันเป็นวัดร้าง) ซึ่งสร้างในสมัยเดียวกัน อยู่ด้านทิศเหนือ โดยมีลำคลองกั้นระหว่างกลาง วัดไตรภูมิชาวบ้านสมัยก่อน เรียกว่า "วัดใต้" ส่วนวัดโพธาราม เรียกว่า "วัดเหนือ" เมื่อชุมชนพรานกระต่ายเสื่อมลงราวปลายกรุงสุโขทัย วัดไตรภูมิจึงได้กลายเป็นวัดร้างไปด้วย เป็นระยะเวลาประมาณ 300-400 ปี เมื่อชุมชนพรานกระต่ายเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้ง ราวต้นกรุงรัตนโกสินทร์ประมาณ พ.ศ.2380 ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันบูรณะวัดไตรภูมิให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน

16.669106, 99.5915677

เผยแพร่เมื่อ 06-09-2019 ผู้เช้าชม 992


ตำนานวัดไตรภูมิ

ตำนานวัดไตรภูมิ

กาลครั้งหนึ่งในสมัยพระร่วงเจ้าครองเมืองสุโขทัย บริเวณที่เป็นหมู่บ้านพรานกระต่ายปัจจุบันนี้ เป็นป่าใหญ่ มีเมืองกำแพงเพชรหรือเมืองชากังราว ซึงเป็นเมืองลูกหลวงเท่านั้นท่ี่มีผุู้คนอาศัยอยู่หนาแน่น พระร่วมเจ้าจึงได้สร้างถนนจากเมืองสุโขทัยถึงเมืองกำแพงเพชร เพื่อติดต่อกันได้โดยสะดวก ถนนนี้เรียกว่า "ถนนพระร่วง" (อยู่ห่างจากวัดไตรภุูมิไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) บริเวณป่าใหญ่นี้มีนายพรานคอยดูแลรักษาป่าและ สัตว์ป่าอยู่เป็นประจำ วันหนึ่งพรานป่าได้พบช้างเชือกหนึ่งมีลักษณะงดงามมากผิดกว่าช้างอื่นๆ จึงนำเรื่องนี้เข้ากราบทูลพระร่วงให้ทรงทราบ 

16.7217067, 99.2478327

เผยแพร่เมื่อ 13-03-2018 ผู้เช้าชม 2,511


 

Google search

Mic

ประเพณีนบพระ-เล่นเพลง

ประเพณีนบพระ-เล่นเพลง

“นบพระ เล่นเพลงในแผ่นดินพระเจ้าลิไท ริ้วขบวนยาตราสู่วัดพระบรมธาตุ นครชุม น้อมสักการะพระบรมสารีริกธาตุ สืบทอดประเพณีเก่าแก่นับแต่ครั้งสมัยสุโข

เถาพันซ้าย

เถาพันซ้าย

ต้นเถาพันซ้าย จัดเป็นไม้เถาเนื้อแข็งเลื้อยพันขนาดใหญ่ มีความยาวได้ถึง 20 เมตร ลำต้นมีลักษณะกลม มักขดเป็นวง มีขนสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้น

กรุอาวาสใหญ่

กรุอาวาสใหญ่

ที่ตั้งกระพระวัดอาวาสใหญ่ อยู่ริมถนนกำแพงพรานกระต่ายติดกับบ่อสามแสน ประเภทพระที่พบ ได้แก่ พระฝักดาบ พระลีลากำแพง พระซุ้มเสมา พระคู่สวดอุปฌานอกเสมา

ลายดอกไม้

ลายดอกไม้

ในครั้งนี้ กองศิลปาชีพ สำนักราชเลขาธิการ ในพระองค์สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ได้นำส่งเงินค่าผลิตภัณฑ์ผ้าปักชาวเขาแก่สมาชิกศิลปาชีพ จำนว