บ้านกะเหรี่ยงปะละทะ
บ้านกะเหรี่ยงปะละทะ เป็นหมู่บ้านกะเหรี่ยงที่เก่าแก่ ตั้งอยู่ริมลำน้ำแม่กลอง ในอำเภออุ้มผาง เป็นหมู่บ้านที่ได้รับการพัฒนา มีไฟฟ้า สถานีอนามัย และโรงเรียน ชาวกะเหรี่ยงที่นี่ยังนิยมการแต่งกายแบบวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอง แต่ละบ้านจะมีหูกทอผ้า (เครื่องทอผ้า) ใช้กันเองในหมู่บ้าน นิยมเลี้ยงหมู ไก่ เพื่อใช้เป็นอาหาร เลี้ยงช้างไว้เป็นพาหนะในการเดินทางและขนส่ง ชาวกะเหรี่ยงส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม
15.7596444, 98.6341117
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 3,978
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 170 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 108 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
ไม้ต้น ลำต้นเป็นสามเหลี่ยมสีเขียว ตรง สูงประมาณ 2-5 เมตร ลำต้นมักแตกออกเป็นสามยอด ตรงสันของลำต้นมีหนามเป็นกระจุกๆ ละ 2 เรียง ลงมาตลอดลำต้น-ลำต้นมีย
ต้นก้นจ้ำขาวเป็นพืชล้มลุก สูงได้ถึง 1 เมตร ลำต้นเป็นสัน ใบก้นจ้ำขาวใบเป็นใบประกอบขนนกชั้นเดียว มี 3 ใบย่อย แผ่นในรูปไข่ ปลายใบแหลม ของใบหยัก ฐานใยม
การรังสรรค์งานศิลปะบนฝาผนังของศิลปิน เรียกว่า จิตรกรรม เป็นงานศิลปะที่ต้องใช้พลังความศรัทธาอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถ วิหา
ตำบลหนองคล้าเดิมเป็นส่วนหนึ่งของเขตตำบลคณฑี อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ต่อมามีการแบ่งเขตการปกครองเป็นอำเภอไทรงาม จึงมีการแยกตำบลออกจากอำเภอเมือง จ