ประเพณีตานต้อด

ประเพณีตานต้อด

คำว่า “ตานต๊อด” ภาษากลาง คือ ทานทอด เป็นคำประสมระหว่างคำว่า ทาน กับ ทอด ความหมายคือ “วางของให้” ก็คือการให้ทาน ซึ่งเป็นประเพณีที่แสดงถึงความเอื้ออาทรของชาวบ้านที่มีต่อคนทุกข์ยาก เป็นการทำบุญด้วยใจไม่หวังผลตอบแทน ประเพณีตานต๊อดมีต้นกำเนิดมาจากล้านนา ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการทำบุญประเภทนี้จึงมีแต่เฉพาะทางภาคเหนือของประเทศไทยเท่านั้น และในปัจจุบันการตานต๊อดไม่ค่อยแพร่หลาย เด็กและเยาวชนรุ่นหลังส่วนใหญ่ไม่รู้จักประเพณีตานต๊อดกันแล้ว จึงน่าเป็นห่วงอย่างยิ่งว่า หากไม่มีการอนุรักษ์ฟื้นฟู ประเพณีที่ดีงามดังกล่าวจะสูญหายไปจากสังคมไทย

17.0640255, 98.3370185

เผยแพร่เมื่อ 27-01-2022 ผู้เช้าชม 1,466


 

Google search

Mic

โรงแรมเลิฟอินน์ 1

โรงแรมเลิฟอินน์ 1

โรงแรมเลิฟอินน์  บริการห้องพักราคาประหยัด  มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบครัน ลานระเบียง เครื่องปรับอากาศ บริการทำความสะอาดทุกวัน 

กลุ่มชาติพันธุ์ สังคมและวัฒนธรรมของไทยทรงดำ

กลุ่มชาติพันธุ์ สังคมและวัฒนธรรมของไทยทรงดำ

ไทดำหรือไตดำ (Black tai) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่มีชื่อเรียกหลากหลาย เช่น โซ่ง ซ่ง ไทยโซ่ง ไทยซ่ง ลาวโซ่ง ลาวซ่ง ลาวทรงดำ และลาวพุงดำ โดยสันนิษฐานว่าไ

ประเพณีนบพระ-เล่นเพลง

ประเพณีนบพระ-เล่นเพลง

“นบพระ เล่นเพลงในแผ่นดินพระเจ้าลิไท ริ้วขบวนยาตราสู่วัดพระบรมธาตุ นครชุม น้อมสักการะพระบรมสารีริกธาตุ สืบทอดประเพณีเก่าแก่นับแต่ครั้งสมัยสุโข

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ตอน 2) "สงครามรวมชาติ"

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ตอน 2)

สงครามรวมชาติครั้งแรกของสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ เริ่มต้นด้วยการเลือกตีเมืองที่แข็งแกร่งที่สุด คือพิษณุโลกก่อน ด้วยมีพระราชดำริว่า ถ้าทำสำเร็จ การรวมหั