คนที

คนที

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้ชม 1,656

[16.4880015, 99.520214, คนที]

ชื่อโบราณวัตถุ : คนที
แบบศิลปะ : ศิลปะสุโขทัย
ชนิด : ปูนปั้น
อายุสมัย : (พุทธศตวรรษที่ 19-22)
ลักษณะ : เป็นหม้อน้ำมีพวย มีทั้งพวยเรียบๆ และที่มีการตกแต่งที่ปลายพวย ตัวหม้อน้ำจะมีขนาดใหญ่ คล้ายหม้อก้นกลม แต่คอคอดเล็กและสูง ที่ก้นมีขอบเชิงเตี้ยๆ คนทีจะมีทั้งเนื้อดินปั้นหยาบและละเอียด มีทั้งแบบเรียบและตกแต่งด้วยการเขียนสีแดงบนตัวภาชนะที่ทาน้ำ ดินสีนวลไว้เป็นแนวรอบไหล ่เหนือพวกกา 5-6 เส้น
ประวัติ : คนทีเป็นศิลปะสุโขทัย  ผลิตภัณฑ์จากแหล่งเตาเผาริมแม่น้ำโจน โดยทั่วไปจะเผาในเตากูบ ซึ่งแบ่งตัวเตาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนใส่เชื้อเพลิง อยู่ส่วนนอก ตรงกลางเป็นที่ตั้งภาชนะที่เข้าเผา และส่วนท้ายเป็นปล่องไฟ โดยมีการตั้งภาชนะ บนกี๋ท่อ ภาชนะส่วนบนวางซ้อนกันโดยมีกี๋งบน้ำ อ้อยที่มีขา 4-6 ปุ่ม ดังนั้นภาชนะที่ผลิตที่นี่ส่วน ใหญ่จะมีรอยปุ่มกี๋งบน้ำอ้อยปรากฏอยู่ที่ด้านใน เสมอ ยกเว้นใบที่ตั้งอยู่บนสุด เนื้อดินปั้นของ ภาชนะที่ผลิตจากเตาเมืองสุโขทัยเก่าจะมีลักษณะ หยาบสีเทา ดังนั้นก่อนที่ช่างจะตกแต่งลวดลาย ช่างจะใช้น้ำดินหรือสลิปเคลือบตัวภาชนะที่ขึ้นรูป แล้วเพื่อตกแต่งผิวภาชนะให้เรียบก่อน จากนั้นจึง จะเขียนลายแล้วจึงเคลือบใสทับ แล้วนำเข้าเผา ด้วยอุณหภูมิประมาณ 900-1000 องศาเซลเซียส ลายที่นิยมเขียนเป็นลายดอกไม้อย่างคร่าวๆ ภายใน วงกลมด้านในเขียนลายกลีบบัวฟันยักษ์ ซึ่ง ลักษณะลวดลายนี้จะคล้ายคลึงกับเครื่องถ้วยอันนัม (ญวน) ที่อยู่ร่วมยุคสมัยเดียวกันด้วย นอกจากนี้ มีลายจักรภายในวงกลม และลายปลาตัวเดียวภายในวงกลม เป็นต้น รูปแบบของภาชนะมี จาน จานเล็ก และชาม 
สถานที่พบ : พบที่วัดพระธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร

 ภาพโดย : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

คำสำคัญ : คนที

ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). คนที. สืบค้น 27 กรกฎาคม 2567, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=330&code_db=DB0012&code_type=004

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=330&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

หินลับเครื่องมือ

หินลับเครื่องมือ

หินลับเครื่องมือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์(อายุประมาณ 1,500-2,500 ปีมาเเล้ว) พบที่เเหล่งโบราณคดีเขากะล่อน บ้านหาดชะอม ตำบลท่าพุทรา อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 11-03-2017 ผู้เช้าชม 3,027

เศียรพระพรหมปูนปั้น

เศียรพระพรหมปูนปั้น

เศียรพระพรหมปูนปั้น ศิลปะสมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่21) พบที่วัดพระเเก้ว จังหวัดกำแพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 09-03-2017 ผู้เช้าชม 1,092

อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา

อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา

อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,057

เเท่นหินเเละหินบด

เเท่นหินเเละหินบด

เเทนหินเเละหินบด ศิลปะลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16-17)  พบที่เมืองไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 4,358

หม้อตาล

หม้อตาล

หม้อตาล ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-23) 

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 4,393

เศียรครุฑปูนปั้น

เศียรครุฑปูนปั้น

เศียรครุฑปูนปั้น ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบในจังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,114

เสมาหินชนวนสลักลายพันธุ์พฤกษาและเทพพนม

เสมาหินชนวนสลักลายพันธุ์พฤกษาและเทพพนม

เสมาหินชนวนสลักลายพันธุ์พฤกษาและเทพพนม  ศิลปะสมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่21-22) พบที่วัดพระนอน จังหวัดกำแพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 09-03-2017 ผู้เช้าชม 1,178

หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์

หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์

หลวงพ่ออุโมงค์ พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน องค์มหึมา พบที่วัดสว่างอารมณ์ กำแพงเพชร หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ศิลปะเชียงแสน สิงห์สาม สร้างราวพุทธศักราช 1700-1800 มีข้อสันนิษฐานมากมาย ว่าท่านเสด็จมาอยู่ในกำแพงเพชรได้อย่างไร เพราะกำแพงเพชร มิได้อยู่ในสมัยเชียงแสน ข้อสันนิษฐานที่พิสดาร คือ เมื่อคราวพระเจ้าชัยศิริ โอรสของพระเจ้าพรหมมหาราช อพยพผู้คน มาตั้งเมืองแปบ เขตเมืองกำแพงเพชร ในราวพุทธศักราช 1600 อาจจะนำหลวงพ่ออุโมงค์มาเป็นมิ่งขวัญด้วย แต่พุทธลักษณะน่าจะเป็นเชียงแสนสิงห์หนึ่ง (อาจจะบูรณปฏิสังขรณ์ภายหลัง ทำให้พุทธลักษณะเปลี่ยนไป)

 

เผยแพร่เมื่อ 20-04-2020 ผู้เช้าชม 2,320

เทวรูปพระอิศวร

เทวรูปพระอิศวร

พระอิศวร หรือ พระศิวะ เทพเจ้าที่สำคัญของศาสนาพราหม์ -ฮินดู พระอิศวรคือเทพแห่งการประสาทพร เทพแห่งพิธีบวงสรวง เทพแห่งเสียงเพลงการร่ายรำ ทรงเป็นผู้บำบัดอาการเจ็บป่วยและขจัดปัดเป่าทุกข์ ทรงมีความกรุณายิ่งกว่าปวงเทพทั้งหลาย เทวรูปพระอิศวรจึงเป็นประติมากรรมชั้นพิเศษสุดที่ทรงคุณค่าแสดงถึงความเชื่อความศรัทธาของบรรพบุรุษ ในด้านประวัติศาสตร์และประติมากรรม การหล่อโลหะในสมัยโบราณ อีกทั้งเป็นที่เคารพของชาวกำแพงเพชรตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลากว่า 510 ปีมาแล้ว

เผยแพร่เมื่อ 17-01-2020 ผู้เช้าชม 3,309

กระเบื้องเชิงชาย

กระเบื้องเชิงชาย

กระเบื้องเชิงชาย ศิลปะอยุธยา  (พุทธศตวรรษที่ 21-23) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,489