เศียรครุตฑปูนปั้น

เศียรครุตฑปูนปั้น

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้ชม 772

[16.4880015, 99.520214, เศียรครุตฑปูนปั้น]

ชื่อโบราณวัตถุ :   เศียรครุฑปูนปั้น
         แบบศิลปะ :   ศิลปะอยุธยา
         ชนิด :   ปูนปั้น
         ขนาด :   สูง 35 เซนติเมตร กว้าง 20 เซนติเมตร
         อายุสมัย :   พุทธศตวรรษที่ 21
         ลักษณะ :   เศียรครุฑสวมเทริด ตาโปนโต อ้าปากกว้าง หน้าตาดุดัน แลดูมีอำนาจ ซึ่งครุฑถือเป็นพญานกผู้ยิ่งใหญ่ มีฤทธานุภาพและพลังอำนาจมหาศาล เป็นสัตว์กึ่งเทพในตำนานที่มีต้นกำเนิดมาจากประเทศอินเดีย คติเรื่องครุฑได้เข้ามามีบทบาทในศาสนาต่างๆ โดยเฉพาะศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ในประเทศไทยได้ปรากฏเรื่องครุฑมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ก่อนจะเริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในสมัยการก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เนื่องจากในสมัยอยุธยาได้รับคติเรื่องพระนารายณ์เป็นอวตารของพระมหากษัตริย์ ครุฑเป็นสัตว์พาหนะของพระนารายณ์จึงถือเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์แทนพระมหากษัตริย์สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
         ประวัติ :   พบในจังหวัดกำแพงเพชร
         สถานที่จัดแสดง :   พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร

ภาพโดย :   http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

คำสำคัญ : เศียรครุตฑปูนปั้น

ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). เศียรครุตฑปูนปั้น. สืบค้น 1 เมษายน 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=328&code_db=610012&code_type=01

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=328&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

หลวงพ่อเพชร

หลวงพ่อเพชร

ตามประวัติเดิมหลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ที่วัดจอมทอง อ.จอมทองจ.เชียงใหม่ เมื่อครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราชยกทัพไปปราบหัวเมืองเหนือ ขณะเสด็จกลับผ่านเมืองพิจิตร พระพิจิตรเจ้าเมืองได้กราบบังคมทูลว่าตนต้องการพระพุทธรูปประจำเมือง เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จพระราชดำเนินกลับมาจากเชียงใหม่จึงทรงอัญเชิญหลวงพ่อเพชร ล่องแพมาทางลำน้ำปิง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อเพชรประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรก่อน และทรงแจ้งให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ พระพิจิตรได้รับทราบจึงนำชาวบ้านจำนวนมากไปเมืองกำแพงเพชร เพื่อทำการสักการะแล้วอัญเชิญ หลวงพ่อเพชรแห่แหน มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดนครชุม เมืองพิจิตร(เก่า) ส่วนหลวงพ่อเพชรที่อยู่วัดปราสาทเป็นพระเนื้อสำริด

เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 517

กระเบื้องเชิงชาย

กระเบื้องเชิงชาย

กระเบื้องเชิงชาย ศิลปะอยุธยา  (พุทธศตวรรษที่ 21-23) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,090

หุ่นจำลองรูปมวยปล้ำ

หุ่นจำลองรูปมวยปล้ำ

หุ่นจำลองรูปมวยปล้ำ  ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20) 

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 629

ผอบสำริด

ผอบสำริด

ผอบสำริด  ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21-22) พบในบริเวณบ้านสรีบุญส่ง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำเเพงเพชร นายบุณส่ง มูลโมกข์ มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 17-03-2017 ผู้เช้าชม 1,118

อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา

อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา

อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 600

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่19-20) พระครูวิธารวชิรศาสตร์ เจ้าอาวาสวัดเสด็จ จังหวัดกำแพงเพชร มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 749

เสมาหินชนวน

เสมาหินชนวน

ใบเสมาหินชนวน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21 - 22) มีขนาด สูง 245 เซนติเมตร กว้าง 74 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,051

เสมาหินชนวนสลักลายพันธุ์พฤกษาเเละเทพพนม

เสมาหินชนวนสลักลายพันธุ์พฤกษาเเละเทพพนม

เสมาหินชนวนสลักลายพันธุ์พฤกษาเเละเทพพนม  ศิลปะสมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่21-22) พบที่วัดพระนอน จังหวัดกำแพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 09-03-2017 ผู้เช้าชม 840

ตลับรูปนกพร้อมฝา

ตลับรูปนกพร้อมฝา

ตลับรูปนกพร้อมฝา ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดเจดีย์เจ็ดยอด เมืองไตรตรึงษ์ จังหวัดกำเเพงเพชร 

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 645

ลูกปัดเเก้ว

ลูกปัดเเก้ว


ลูกปัด  ศิลปะทวารวดี(พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๕) พบที่วัดไตรตรึงษ์ (วัดเจ็ดยอด) อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,467