พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้ชม 3,660

[16.4870941, 99.52206, พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย]

ชื่อโบราณวัตถุ : พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย
แบบศิลปะ : ศิลปะอยุธยา
ชนิด : สำริด
อายุสมัย : (พุทธศตวรรษที่ 22)
ลักษณะ : เป็นพระพุทธรูปลักษณะยกพระหัตถ์เบื้องขวาตั้งหันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้า มีทั้งท่ายืน ท่าเดิน และท่าขัดสมาธิ หรือเรียกปางลักษณะนี้ว่าเป็น "ปางห้ามญาติ" หรือ "ปางโปรดสัตว์"
ประวัติ : พระเจ้าอชาตศัตรู พระราชโอรสของพระเจ้าพิมพิสาร แห่งกรุงราชคฤห์ ถูกพระเทวทัตยุยงให้ปลงพระชนม์พระราชบิดา แล้วขึ้นครองราชแทน พระเจ้าอชาตศัตรูยังทรงช่วยสนับสนุนพระเทวทัตส่งนายขมังธนูไปปลงพระชนม์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ไม่สำเร็จ ภายหลังจากที่พระมเหสีคลอดพระราชโอรสจึงมีความดีใจเป็นล้นพ้นและสำนึกตัวว่าได้ทำบาปมหันต์ที่ปลงพระชนม์ชีพพระราชบิดา จึงเสด็จมาสารภาพความผิดและขอพระราชทานอภัยโทษกับพระพุทธองค์ ขอถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งและทรงบำรุงพระพุทธศาสนา และอุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 1
สถานที่พบ : พบในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์กำเเพงเพชร
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร

ภาพโดย : http://www.wikiwand.com

คำสำคัญ : พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

ที่มา : http://www.wikiwand.com

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย. สืบค้น 27 กรกฎาคม 2567, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=322&code_db=610012&code_type=01

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=322&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่19-20) พระครูวิธารวชิรศาสตร์ เจ้าอาวาสวัดเสด็จ จังหวัดกำแพงเพชร มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,184

พระพุทธรูปปางสมาธิ (สรณังกร)

พระพุทธรูปปางสมาธิ (สรณังกร)

พระพุทธรูปปางสมาธิ (สรณังกร)  ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาด สูงพร้อมฐาน 20 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 9 เซนติเมตร 

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,573

พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย 
          ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 22) พบในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์กำเเพงเพชร 

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 3,660

พระอิศวร

พระอิศวร

พระอิศวร ศิลปะอยุธยา (ระบุมหาศักราช1432 หรือ พ.ศ 2053) เจ้าพระยาธรรมาโศกราช เจ้าเมืองกำแพงเพชร ได้หล่อขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๕๓ สถานที่ประดิษฐานแต่เดิมคือ ศาลพระอิศวร ซึ่งตั้งอยู่หลังศาลจังหวัดกำแพงเพชร 

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,232

กระเบื้องเชิงชาย

กระเบื้องเชิงชาย

กระเบื้องเชิงชาย ศิลปะอยุธยา  (พุทธศตวรรษที่ 21-23) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,488

เศียรเทวดาปูนปั้น

เศียรเทวดาปูนปั้น

เศียรเทวดาปูนปั้น ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาด สูง 27 เซนติเมตร กว้าง 14.5 เซนติเมตร พบที่วัดร้างข้างโรงเรียนนารีวิทยา นายประเสริฐ  ศรีสุวพันธ์ มอบให้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,525

เศียรครุฑปูนปั้น

เศียรครุฑปูนปั้น

เศียรครุฑปูนปั้น ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบในจังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,112

พระพุทธรูปปางมารวิชัย

พระพุทธรูปปางมารวิชัย

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ศิลปะสมัย (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาดสูงพร้อมฐาน 15.7 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,917

หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์

หลวงพ่ออุโมงค์ วัดสว่างอารมณ์

หลวงพ่ออุโมงค์ พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน องค์มหึมา พบที่วัดสว่างอารมณ์ กำแพงเพชร หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ศิลปะเชียงแสน สิงห์สาม สร้างราวพุทธศักราช 1700-1800 มีข้อสันนิษฐานมากมาย ว่าท่านเสด็จมาอยู่ในกำแพงเพชรได้อย่างไร เพราะกำแพงเพชร มิได้อยู่ในสมัยเชียงแสน ข้อสันนิษฐานที่พิสดาร คือ เมื่อคราวพระเจ้าชัยศิริ โอรสของพระเจ้าพรหมมหาราช อพยพผู้คน มาตั้งเมืองแปบ เขตเมืองกำแพงเพชร ในราวพุทธศักราช 1600 อาจจะนำหลวงพ่ออุโมงค์มาเป็นมิ่งขวัญด้วย แต่พุทธลักษณะน่าจะเป็นเชียงแสนสิงห์หนึ่ง (อาจจะบูรณปฏิสังขรณ์ภายหลัง ทำให้พุทธลักษณะเปลี่ยนไป)

 

เผยแพร่เมื่อ 20-04-2020 ผู้เช้าชม 2,318

ลูกปัดเเก้ว

ลูกปัดเเก้ว


ลูกปัด  ศิลปะทวารวดี(พุทธศตวรรษที่ 13-15) พบที่วัดไตรตรึงษ์ (วัดเจ็ดยอด) อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,977