เศียรเทวดาปูนปั้น
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้ชม 1,290
[16.4880015, 99.520214, เศียรเทวดาปูนปั้น]
ชื่อโบราณวัตถุ : เศียรเทวดาปูนปั้น
แบบศิลปะ : ศิลปะสุโขทัย
ชนิด : สำริด
ขนาด : สูง 27 เซนติเมตร กว้าง 14.5 เซนติเมตร
อายุสมัย : พุทธศตวรรษที่ 21
ลักษณะ : เศียรเทวดาปูนปั้นหรือเศียรยักษ์ดินเผา ส่วนเศียรทำจากปูนปั้น แต่ใบหน้าเป็นดินเผาซึ่งทำขึ้นโดยการนำดินมากด ลงบนแม่พิมพ์ จากนั้นจึงนำส่วนใบหน้าไปติดกับส่วนเศียรที่ได้ทำเตรียมไว้ก่อนแล้ว ลักษณะใบหน้ายักษ์ค่อนข้างกลม สวมมงกุฎทรงสูง สลักลวดลายกระหนก และลายก้านขด หน้าตายิ้มแย้มใจดี คิ้วเป็นสันนูนโค้งต่อกันเป็นรูปปีกกา หน้าผากเล็กแคบ นัยน์ตากลมโปนเบิกตากว้าง จมูกโด่งเป็นสันขนาดใหญ่คล้ายผมชมพู่ ใบหูเล็กสวมต่างหูเป็นลูกตุ้มขนาดใหญ่ ริมฝีปากหนาอมยิ้ม คางเป็นปมสองปม เศียรยักษ์นี้คงใช้ประดับอยู่ที่บริเวณส่วนฐานกลมที่อยู่เหนือฐานลานประทักษิณของเจดีย์วัดช้างรอบ
ประวัติ : พบที่วัดร้างข้างโรงเรียนนารีวิทยา นายประเสริฐ ศรีสุวพันธ์ มอบให้
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
ภาพโดย : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th
คำสำคัญ : เศียรเทวดาปูนปั้น
ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th
รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). เศียรเทวดาปูนปั้น. สืบค้น 7 ธันวาคม 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=327&code_db=610012&code_type=01
Google search
พระพุทธรูปทรงเครื่องปางเสวยมธุปายาส ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 23 - 24 ) มีขนาด สูงพร้อมฐาน 20.5 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,319
พระพุทธรูปปางสมาธิ (สรณังกร) ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาด สูงพร้อมฐาน 20 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 9 เซนติเมตร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,226
ใบเสมาหินชนวน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21 - 22) มีขนาด สูง 245 เซนติเมตร กว้าง 74 เซนติเมตร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,234
หลวงพ่ออุโมงค์ พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน องค์มหึมา พบที่วัดสว่างอารมณ์ กำแพงเพชร หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ศิลปะเชียงแสน สิงห์สาม สร้างราวพุทธศักราช ๑๗๐๐ - ๑๘๐๐ มีข้อสันนิษฐานมากมาย ว่าท่านเสด็จมาอยู่ในกำแพงเพชรได้อย่างไร เพราะกำแพงเพชร มิได้อยู่ในสมัยเชียงแสน ข้อสันนิษฐานที่พิสดาร คือ เมื่อคราวพระเจ้าชัยศิริ โอรสของพระเจ้าพรหมมหาราช อพยพผู้คน มาตั้งเมืองแปบ เขตเมืองกำแพงเพชร ในราวพุทธศักราช ๑๖๐๐ อาจจะนำหลวงพ่ออุโมงค์มาเป็นมิ่งขวัญด้วย แต่พุทธลักษณะน่าจะเป็นเชียงแสนสิงห์หนึ่ง (อาจจะบูรณปฏิสังขรณ์ภายหลัง ทำให้พุทธลักษณะเปลี่ยนไป)
เผยแพร่เมื่อ 20-04-2020 ผู้เช้าชม 1,982
กระปุกดินเผา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๓) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 2,505
บาลีดินเผา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 884
เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดพระเเก้ว จังหวัดเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 791
ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-22) พบที่วัดอาวาสใหญ่ จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 11-03-2017 ผู้เช้าชม 1,489
ขันสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่วัดคงหวาย จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 17-03-2017 ผู้เช้าชม 2,731
กระเบื้องกาบกล้วย ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบจากการขุดที่วัดช้างรอบ จังหวัดกำเเพงเพชร ระหว่าง พ.ศ. 2508-2515
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,446