หินลับเครื่องมือ
เผยแพร่เมื่อ 11-03-2017 ผู้ชม 2,217
[16.4880015, 99.520214, หินลับเครื่องมือ]
ชื่อโบราณวัตถุ : หินลับเครื่องมือ
แบบศิลปะ : สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ชนิด : สำริด
อายุสมัย : สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (อายุประมาณ 2,500-1,500 ปีมาเเล้ว)
ลักษณะ : เครื่องมือหินกะเทาะที่มีลักษณะหยาบใหญ่หนากะเทาะเพียงด้านเดียวหรือสองด้านไม่มีการฝนให้เรียบ คม
ประโยชน์ใช้สอย : ใช้ลับอาวุธ
ประวัติ : สมัยก่อนประวัติศาสตร์ยังไม่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวนักโบราณคดีจะศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์โดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี เช่น โครงกระดูกมนุษย์เครื่องมือเครื่องใช้อาวุธต่างๆ เครื่องมือหิน เครื่องปั้นดินเผา เครื่องประดับตลอดจนถ้ำเพิงพาภาพวาดที่มนุษย์อยู่อาศัยและวาดไว้ เป็นต้น และเนื่องจากสมัยก่อนประวัติศาสตร์มี อายุยาวนานมากนักโบราณคดีจึงต้องมีการแบ่งเป็นสมัยย่อย โดยใช้หลักเกณฑ์สำคัญ คือ ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้เป็นหลักในการแบ่ง ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ยุคใหญ่ๆ คือ ยุคหินกับยุคโลหะ
สถานที่พบ : โบราณคดีเขากะล่อน บ้านหาดชะอม ตำบลท่าพุทรา อำเภอขานุวรลักษบุรี จังหวัดกำเเพงเพชร
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำเเพงเพชร
ภาพโดย : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet
คำสำคัญ : หินลับเครื่องมือ
ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet
รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). หินลับเครื่องมือ. สืบค้น 3 ธันวาคม 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=347&code_db=DB0007&code_type=G001
Google search
ตะเกียงเผา ศิลปะทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖)พบที่เมืองไตรตรึ่งษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 2,519
เเผ่นลวดลายปูนปั้นรูปเทพนมประดับโบราณสถาน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดพระเเก้ว จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,319
ขันสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่วัดคงหวาย จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 17-03-2017 ผู้เช้าชม 2,725
หลวงพ่ออุโมงค์ พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน องค์มหึมา พบที่วัดสว่างอารมณ์ กำแพงเพชร หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ศิลปะเชียงแสน สิงห์สาม สร้างราวพุทธศักราช ๑๗๐๐ - ๑๘๐๐ มีข้อสันนิษฐานมากมาย ว่าท่านเสด็จมาอยู่ในกำแพงเพชรได้อย่างไร เพราะกำแพงเพชร มิได้อยู่ในสมัยเชียงแสน ข้อสันนิษฐานที่พิสดาร คือ เมื่อคราวพระเจ้าชัยศิริ โอรสของพระเจ้าพรหมมหาราช อพยพผู้คน มาตั้งเมืองแปบ เขตเมืองกำแพงเพชร ในราวพุทธศักราช ๑๖๐๐ อาจจะนำหลวงพ่ออุโมงค์มาเป็นมิ่งขวัญด้วย แต่พุทธลักษณะน่าจะเป็นเชียงแสนสิงห์หนึ่ง (อาจจะบูรณปฏิสังขรณ์ภายหลัง ทำให้พุทธลักษณะเปลี่ยนไป)
เผยแพร่เมื่อ 20-04-2020 ผู้เช้าชม 1,978
ภาชนะสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒o-๒๑) พบในบริเวณบ้านศรีบุญส่ง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำเเพงเพชร นายนิเวศน์ มูลโมกข์ มอบให้
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 6,365
อิฐสลักภาพม้าเเละพันธ์พฤกษา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 781
ตามประวัติเดิมหลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ที่วัดจอมทอง อ.จอมทองจ.เชียงใหม่ เมื่อครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราชยกทัพไปปราบหัวเมืองเหนือ ขณะเสด็จกลับผ่านเมืองพิจิตร พระพิจิตรเจ้าเมืองได้กราบบังคมทูลว่าตนต้องการพระพุทธรูปประจำเมือง เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จพระราชดำเนินกลับมาจากเชียงใหม่จึงทรงอัญเชิญหลวงพ่อเพชร ล่องแพมาทางลำน้ำปิง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อเพชรประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรก่อน และทรงแจ้งให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ พระพิจิตรได้รับทราบจึงนำชาวบ้านจำนวนมากไปเมืองกำแพงเพชร เพื่อทำการสักการะแล้วอัญเชิญ หลวงพ่อเพชรแห่แหน มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดนครชุม เมืองพิจิตร(เก่า) ส่วนหลวงพ่อเพชรที่อยู่วัดปราสาทเป็นพระเนื้อสำริด
เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 669
ปืนใหญ่หล่อด้วยสำริด ศิลปะสมัยอยุธยา (พุทธศตวรรตที่ 21-22)
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,662
เศียรครุตฑปูนปั้น ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑) พบในจังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 910
ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-22) พบที่วัดอาวาสใหญ่ จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 11-03-2017 ผู้เช้าชม 1,483