พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้ชม 3,503

[16.4870941, 99.52206, พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย]

ชื่อโบราณวัตถุ : พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย
แบบศิลปะ : ศิลปะอยุธยา
ชนิด : สำริด
อายุสมัย : (พุทธศตวรรษที่ 22)
ลักษณะ : เป็นพระพุทธรูปลักษณะยกพระหัตถ์เบื้องขวาตั้งหันฝ่าพระหัตถ์ไปข้างหน้า มีทั้งท่ายืน ท่าเดิน และท่าขัดสมาธิ หรือเรียกปางลักษณะนี้ว่าเป็น "ปางห้ามญาติ" หรือ "ปางโปรดสัตว์"
ประวัติ : พระเจ้าอชาตศัตรู พระราชโอรสของพระเจ้าพิมพิสาร แห่งกรุงราชคฤห์ ถูกพระเทวทัตยุยงให้ปลงพระชนม์พระราชบิดา แล้วขึ้นครองราชแทน พระเจ้าอชาตศัตรูยังทรงช่วยสนับสนุนพระเทวทัตส่งนายขมังธนูไปปลงพระชนม์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ไม่สำเร็จ ภายหลังจากที่พระมเหสีคลอดพระราชโอรสจึงมีความดีใจเป็นล้นพ้นและสำนึกตัวว่าได้ทำบาปมหันต์ที่ปลงพระชนม์ชีพพระราชบิดา จึงเสด็จมาสารภาพความผิดและขอพระราชทานอภัยโทษกับพระพุทธองค์ ขอถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งและทรงบำรุงพระพุทธศาสนา และอุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 1
สถานที่พบ : พบในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์กำเเพงเพชร
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร

ภาพโดย : http://www.wikiwand.com

คำสำคัญ : พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย

ที่มา : http://www.wikiwand.com

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). พระพุทธรูปยืนปางประทานอภัย. สืบค้น 29 เมษายน 2567, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=322&code_db=610012&code_type=01

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=322&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางเสวยมธุปายาส

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางเสวยมธุปายาส

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางเสวยมธุปายาส ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 23 - 24) มีขนาด สูงพร้อมฐาน 20.5 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,558

บาลีดินเผา

บาลีดินเผา

บาลีดินเผา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,010

หลวงพ่อโตพระพุทธรูปปางมารวิชัย

หลวงพ่อโตพระพุทธรูปปางมารวิชัย

หลวงพ่อโตพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาด กว้าง 2.70 เมตร สูง 3.30 เมตร อายุสมัย สุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 20 วัสดุที่ทำ อิฐ ฉาบปูน  ประวัติพระพุทธรูปองค์นี้ ลักษณะพระพักตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง พระนาสิกโด่ง พระเนตรเรียวเล็กเหลือบต่ำ พระโอษฐ์บาง พระกรรณทั้งสองข้างยาว ปลายงอนออก เม็ดพระศกเป็นก้นหอย พระอุษณีษะเป็นรูปมะนาวตัด พระรัศมีเป็นรูปเปลวเพลิง ครองจีวรห่มเฉียงแบบพระองค์ ชายสังฆาฏิจรดพระนาภี ปลายเป็นลายเขี้ยวตะขาบ ขัดสมาธิราบ ประทับนั่งบนอาสนาดอกบัว

เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 930

หงส์ดินเผา

หงส์ดินเผา

หงส์ดินเผา  ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21)  พบจากการขุดเเต่งที่วัดช้างรอบ จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 2,418

เเท่นหินเเละหินบด

เเท่นหินเเละหินบด

เเทนหินเเละหินบด ศิลปะลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16-17)  พบที่เมืองไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 4,104

กระเบื้องกาบกล้วย

กระเบื้องกาบกล้วย

กระเบื้องกาบกล้วย ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบจากการขุดที่วัดช้างรอบ จังหวัดกำเเพงเพชร ระหว่าง พ.ศ. 2508-2515

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,640

หลวงพ่อเพชร

หลวงพ่อเพชร

ตามประวัติเดิมหลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ที่วัดจอมทอง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เมื่อครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยกทัพไปปราบหัวเมืองเหนือ ขณะเสด็จกลับผ่านเมืองพิจิตร พระพิจิตรเจ้าเมืองได้กราบบังคมทูลว่าตนต้องการพระพุทธรูปประจำเมือง เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จพระราชดำเนินกลับมาจากเชียงใหม่จึงทรงอัญเชิญหลวงพ่อเพชร ล่องแพมาทางลำน้ำปิง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อเพชรประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรก่อน และทรงแจ้งให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ พระพิจิตรได้รับทราบจึงนำชาวบ้านจำนวนมากไปเมืองกำแพงเพชร เพื่อทำการสักการะแล้วอัญเชิญ หลวงพ่อเพชรแห่แหน มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดนครชุม เมืองพิจิตร(เก่า) ส่วนหลวงพ่อเพชรที่อยู่วัดปราสาทเป็นพระเนื้อสำริด

เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 789

เศียรยักษ์ดินเผา

เศียรยักษ์ดินเผา

เศียรยักษ์ดินเผา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดช้างรอบ จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 984

เสมาหินชนวน

เสมาหินชนวน

ใบเสมาหินชนวน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21 - 22) มีขนาด สูง 245 เซนติเมตร กว้าง 74 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,363

กระปุกลายคราม

กระปุกลายคราม

กระปุกลายคราม ศิลปะจีน สมัยรัชกาลวงศ์หมิง ราวต้น (พุทธศตวรรษที่ 22) พบที่บริเวณเมืองไตรตรึงษ์ จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 2,670