วัดน้ำล้อม
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้ชม 680
[17.0493958, 99.0816973, วัดน้ำล้อม]
พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบสูง อาคารเสนาสนะต่างๆ มี วิหารกว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้าง พ.ศ. ๒๔๗๔ กุฏิสงฆ์ จำนวน ๓ หลัง เป็นอาคารไม้ สำหรับปูชนียวัตถุมี พระพุทธรูปปูนปั้น ๕ องค์ วัดน้ำล้อม สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๓ มีนามเรียกกันอีกนามหนึ่งว่า “วัดสันป่าปิน” ประชาชนร่วมใจกันจัดสร้างวัดนี้ มีพระภิกษุสงฆ์อยู่จำพรรษา ๒ รูป สามเณร ๓ รูป
คำสำคัญ : วัดน้ำล้อม
ที่มา : http://tak.onab.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=224:2012-05-10-07-59-33&catid=59:2012-04-26-03-31-07&Itemid=120
รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2561). วัดน้ำล้อม. สืบค้น 28 มีนาคม 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=785&code_db=610009&code_type=TK005
Google search
วัดน้ำล้อม ตั้งอยู่บ้านปากร้องห้วยจี้ หมู่ที่ ๑ ตำบลตากออก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๔ ไร่ ๓ งาน ๘๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับที่ดินนายห้วน บุญส่ง ทิศใต้ติดต่อกับที่ดินนางทา เขียวไสว ทิศตะวันออกติดต่อกับที่ดินนายห้วน บุญส่ง ทิศตะวันตกติดต่อกับที่ดินนางจีน มีลาน
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 680
ตั้งอยู่ที่บ้านเด่นไม้ซุง หมู่ที่ ๙ ตำบลแม่สลิด อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๓ ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับที่ดินของนายทรง ทิศใต้และทิศตะวันออกติดต่อกับทางเดินสาธารณะ ทิศตะวันตกติดต่อกับลำคลองสาธารณะ
เผยแพร่เมื่อ 17-08-2018 ผู้เช้าชม 611
วัดบ้านปูน ตั้งอยู่ที่บ้านปูน หมู่ที่ ๖ ตำบลเกาะตะเภา อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๔ ไร่ ๑ งาน ๓๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับหมู่บ้านประชาชน ทิศใต้ตืดต่อกับหม่าบ้านประชาน ทิศตะวันออกติดต่อกับถนนริมแม่น้ำปิง ทิศตะวันตกติดต่อกับถนนสาธารณะ
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 868
วัดแม่ยะ ตั้งอยู่ที่บ้านแม่ยะ หมู่ที่ ๗ ตำบลเกาะตะเภา อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๓ ไร่ ๒๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับหมู่บ้าน ทิศใต้ติดต่อกับที่ดินของประชาชน ทิศตะวันออกติดต่อกับแม่น้ำ ทิศตะวันตกติดต่อกับถนนสาธารณะ และมีที่ธรณีสงฆ์ ๑ แปลง เนื้อที่ ๓ งาน ๔๖ ตารางวา
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 826
วัดดงยาง ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐๐ บ้านดงยาง หมู่ที่ ๑ ตำบลทุ่งกระเชาะ อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๓ ไร่ ๑ งาน ๒๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ ๓๖ วา ติดต่อกับที่ดินของนายยอง ใจวงษา ทิศใต้ยาว ๓๖ วา ติดต่อกับถนนหลวง ทิศตะวันออกยาว ๖๕ วา ติดต่อกับที่ตั้งโรงเรียน ทิศตะวันตกยาว ๖๕ วา ติดต่อกับห้วยแม่ใข โดยมี น.ส. ๓ ก. เลขที่ ๑๔๐๑ เป็นหลักฐาน และมีที่ธรณีสงฆ์ ๒ แปลง เนื้อที่ ๖ ไร่ ตาม ส.ค. ๑ เป็นหลักฐาน
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 643
วัดทุ่งยั้ง ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๓ บ้านใหม่ หมู่ที่ ๑๐ ตำบลตากตก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๕ ไร่ ๒ งาน ๑๒๐๔๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว ๓๙ วา ๒ ศอก ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศใต้ยาว ๕๐ วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกยาว ๔๖ วา ติดต่อกับที่ตั้งบ้านของนายจวน วงษ์อินทร์ ทิศตะวันตกยาว ๔๖ วา ๒ ศอก ติดต่อกับถนนสาธารณะ โยมี น.ส. ๔ ง เลขที่ ๒๐๑๖ เป็นหลักฐาน
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 649
วัดทุ่งกระเชาะ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๓๕ บ้านทุ่งกระเชาะ หมู่ที่ ๖ ตำบลทุ่งกระเชาะ อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๓ ไร่ ๑ งาน ๓๐ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว ๔๓ วา ๓ ศอก ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศใต้ยาว ๔๖ วา ๑ ศอก ติดต่อกับห้วยตาก ทิศตะวันออกยาว ๓๒ วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกยาว ๒๘ วา ติดต่อกับธรณีสงฆ์ โดยมีโฉนดเลขที่ ๑๓๗๙ และที่ธรณีสงฆ์ ๑ แปลง เนื้อที่ ๒ ไร่
เผยแพร่เมื่อ 17-08-2018 ผู้เช้าชม 925
วัดน้ำปุ ตั้งอยู่เลขที่ ๕๗ บ้านน้ำปุ หมู่ที่ ๗ ตำบลตากตก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๑๑ ไร่ ๑ งาน ๖๓ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับที่ดินของ ด.ต.ทอง กรพาหา ทิศใต้ติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันออกติดต่อกับถนนและแม่น้ำปิง ทิศตะวันตกติดต่อกับที่ดิน นายเฮียง และนายศูน
เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 898
เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 720
อุโมงเนินธรรมศุทธิ (ชาวบ้าน เรียกว่า โองโมงค์) อยู่ในความดูแลของวัดเกาะลาน ตั้งอยู่ที่ตำบลสมอโคน หมู่ 3 อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ปัจจุบันเป็นสถานที่พักชั่วคราวของพระสงฆ์ที่ธุดงค์ผ่านมา และชาวบ้านได้ร่วมใจกันรื้อฟื้นประเพณีเข้าปริวาสกรรม เพื่อให้อยู่คู่กับสถานที่แห่งนี้ตลอดไปลักษณะของโองโมงค์ธรรมศุทธิ เป็นสิ่งก่อสร้างทำด้วยอิฐ และฉาบด้วยดินเผามีรูปร่างคล้ายอุโมงค์สูงประมาณ 1.50 เมตร กว้างประมาณ 1.20 เมตร และยาวประมาณ 2.40 เมตร มีช่องทางเข้าออกด้านหน้าด้านเดียว ด้านหลังก่ออิฐทึบมีช่องระบายอากาศ เป็นสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ 1 ช่อง บนหลังคาก่อเป็นรูปทรงใบเสมาเป็นเหลี่ยมและตกแต่งลวดลายประดับไว้ทั้งหมด 25 หลัง ระยะห่างกันประมาณ 0.80 เมตร สร้างในแนวลักษณะของครึ่งวงกลมบนเนินธรรมศุทธิภายในโองโมง มีพื้นที่เหมาะสำหรับบุคคลที่จะอาศัยได้เพียงคนเดียว
เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 614