ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล

ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล

เผยแพร่เมื่อ 11-03-2017 ผู้ชม 1,848

[16.4880015, 99.520214, ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล]

ชื่อโบราณวัตถุ :  ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล
แบบศิลปะ :  ศิลปะอยุธยา
ชนิด :   ดินปั้น,ดินเผา                      
อายุสมัย :   (พุทธศตวรรษที่ 20-22)
ลักษณะ :    เป็นภาชนะดินเผาเนื้อหยาบหรือเนื้อแกร่งแบบไม่เคลือบ แต่สำหรับเก็บกักอาหารหรือของเหลวบางอย่างจำเป็นต้องใช้ภาชนะดินเผาแบบเคลือบเพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวและแก็สได้
ประโยชน์ใช้สอย :   ภาชนะดินเผาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น หุงต้มอาหาร บรรจุน้ำดื่มน้ำใช้ มักเป็นภาชนะดินเผาเนื้อหยาบหรือเนื้อแกร่งแบบไม่เคลือบ แต่สำหรับเก็บกักอาหารหรือของเหลวบางอย่างจำเป็นต้องใช้ภาชนะดินเผาแบบเคลือบเพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวและแก็สได้ เช่น ไหสีน้ำตาลใช้บรรจุปลาร้า เกลือ น้ำผึ้ง น้ำตาล น้ำมัน ข้าว พริกไทย ฯลฯ ขวดดินเผาเคลือบอาจใส่น้ำดื่มไว้พกพาหรือใส่สุรา กระปุกขนาดเล็กและตลับ อาจใช้บรรจุเครื่องหอมหรือเครื่องสำอาง ภาชนะรูปสัตว์ต่างๆ เช่น นก ช้าง กระต่าย พบว่าภายในบรรจุปูน อาจใช้เป็นเต้าปูนกินหมาก
ประวัติ :  ภาชนะดินเผา (Pottery) เป็นภาชนะสำหรับบรรจุของเหลวหรือของแข็ง สำหรับใช้บริโภคหรือเก็บสะสมอาหาร เช่น หม้อ ไห จาน ชาม ถ้วย ผลิตขึ้นโดยนำดิน หรือ ดิน หิน ทราย แร่ธาตุต่างๆ มาผสมกับน้ำ ปั้นตามรูปร่างที่ต้องการแล้วเผาให้แข็งตัวคงรูปร่างอยู่ได้
สถานที่จัดแสดง :   พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ  กำเเพงเพชร

ภาพโดย :  http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

 

คำสำคัญ : ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล

ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล. สืบค้น 27 กรกฎาคม 2567, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=346&code_db=DB0013&code_type=F003

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=346&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

ท้าวกุเวร กรุทุ่งเศรษฐี สมัยพระยาลิไท

ท้าวกุเวร กรุทุ่งเศรษฐี สมัยพระยาลิไท

ท้าวกุเวร กรุทุ่งเศรษฐี  ศิลปะสมัยพระยาลิไท ปลายสมัยสุโขทัย สันนิษฐานกันว่า พระเจ้าแผ่นดินทรงฉลองปีพุทธชยันตี พ.ศ.1900 พบที่ทุ่งเศรษฐี จังหวัดกำแพงเพชร    

 

เผยแพร่เมื่อ 09-03-2017 ผู้เช้าชม 5,369

ตลับรูปนกพร้อมฝา

ตลับรูปนกพร้อมฝา

ตลับรูปนกพร้อมฝา ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดเจดีย์เจ็ดยอด เมืองไตรตรึงษ์ จังหวัดกำเเพงเพชร 

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,018

เศียรพระพุทธรูปปูนปั้น

เศียรพระพุทธรูปปูนปั้น

เศียรพระพุทธรูปปูนปั้น  ศิลปะทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 13-15)  พบที่วัดไตรตรึงษ์ (วัดเจ็ดยอด) อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

 

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 1,985

พระพุทธรูปปางมารวิชัย

พระพุทธรูปปางมารวิชัย

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ศิลปะสมัย (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาดสูงพร้อมฐาน 15.7 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,917

คนที

คนที

คนที ศิลปะสุโทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20) พบที่วัดพระธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,653

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่19-20) พระครูวิธารวชิรศาสตร์ เจ้าอาวาสวัดเสด็จ จังหวัดกำแพงเพชร มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,185

เเท่นหินเเละหินบด

เเท่นหินเเละหินบด

เเทนหินเเละหินบด ศิลปะลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16-17)  พบที่เมืองไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 4,355

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางป่าเลไลยก์

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางป่าเลไลยก์

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางป่าเลไลยก์ ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24-25) 

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,833

เเม่พิมพ์ดินเผาพระพิมพ์ปางสมาธิ (พระเชตุพน)

เเม่พิมพ์ดินเผาพระพิมพ์ปางสมาธิ (พระเชตุพน)

เเม่พิมพ์ดินเผาพระพิมพ์ปางสมาธิ (พระเชตุพน) ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 20) มอบจากโรงเรียนนครชุม 

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,099

หลวงพ่อเพชร

หลวงพ่อเพชร

ตามประวัติเดิมหลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ที่วัดจอมทอง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เมื่อครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยกทัพไปปราบหัวเมืองเหนือ ขณะเสด็จกลับผ่านเมืองพิจิตร พระพิจิตรเจ้าเมืองได้กราบบังคมทูลว่าตนต้องการพระพุทธรูปประจำเมือง เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จพระราชดำเนินกลับมาจากเชียงใหม่จึงทรงอัญเชิญหลวงพ่อเพชร ล่องแพมาทางลำน้ำปิง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อเพชรประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรก่อน และทรงแจ้งให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ พระพิจิตรได้รับทราบจึงนำชาวบ้านจำนวนมากไปเมืองกำแพงเพชร เพื่อทำการสักการะแล้วอัญเชิญ หลวงพ่อเพชรแห่แหน มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดนครชุม เมืองพิจิตร(เก่า) ส่วนหลวงพ่อเพชรที่อยู่วัดปราสาทเป็นพระเนื้อสำริด

เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 884