ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล
เผยแพร่เมื่อ 11-03-2017 ผู้ชม 1,415
[16.4880015, 99.520214, ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล]
ชื่อโบราณวัตถุ : ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล
แบบศิลปะ : ศิลปะอยุธยา
ชนิด : ดินปั้น,ดินเผา
อายุสมัย : (พุทธศตวรรษที่ 20-22)
ลักษณะ : เป็นภาชนะดินเผาเนื้อหยาบหรือเนื้อแกร่งแบบไม่เคลือบ แต่สำหรับเก็บกักอาหารหรือของเหลวบางอย่างจำเป็นต้องใช้ภาชนะดินเผาแบบเคลือบเพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวและแก็สได้
ประโยชน์ใช้สอย : ภาชนะดินเผาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น หุงต้มอาหาร บรรจุน้ำดื่มน้ำใช้ มักเป็นภาชนะดินเผาเนื้อหยาบหรือเนื้อแกร่งแบบไม่เคลือบ แต่สำหรับเก็บกักอาหารหรือของเหลวบางอย่างจำเป็นต้องใช้ภาชนะดินเผาแบบเคลือบเพื่อป้องกันการรั่วซึมของของเหลวและแก็สได้ เช่น ไหสีน้ำตาลใช้บรรจุปลาร้า เกลือ น้ำผึ้ง น้ำตาล น้ำมัน ข้าว พริกไทย ฯลฯ ขวดดินเผาเคลือบอาจใส่น้ำดื่มไว้พกพาหรือใส่สุรา กระปุกขนาดเล็กและตลับ อาจใช้บรรจุเครื่องหอมหรือเครื่องสำอาง ภาชนะรูปสัตว์ต่างๆ เช่น นก ช้าง กระต่าย พบว่าภายในบรรจุปูน อาจใช้เป็นเต้าปูนกินหมาก
ประวัติ : ภาชนะดินเผา (Pottery) เป็นภาชนะสำหรับบรรจุของเหลวหรือของแข็ง สำหรับใช้บริโภคหรือเก็บสะสมอาหาร เช่น หม้อ ไห จาน ชาม ถ้วย ผลิตขึ้นโดยนำดิน หรือ ดิน หิน ทราย แร่ธาตุต่างๆ มาผสมกับน้ำ ปั้นตามรูปร่างที่ต้องการแล้วเผาให้แข็งตัวคงรูปร่างอยู่ได้
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำเเพงเพชร
ภาพโดย : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet
คำสำคัญ : ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล
ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet
รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). ไหดินเผาเคลือบสีน้ำตาล. สืบค้น 29 กันยายน 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=346&code_db=610012&code_type=01
Google search
กระปุกลายคราม ศิลปะจีน สมัยรัชกาลวงศ์หมิง ราวต้น(พุทธศตวรรษที่ ๒๒) พบที่บริเวณเมืองไตรตรึงษ์ จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 2,441
ผอบสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21-22) พบในบริเวณบ้านสรีบุญส่ง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำเเพงเพชร นายบุณส่ง มูลโมกข์ มอบให้
เผยแพร่เมื่อ 17-03-2017 ผู้เช้าชม 1,270
ขันสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่วัดคงหวาย จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 17-03-2017 ผู้เช้าชม 2,586
เเทนหินเเละหินบด ศิลปะลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗) พบที่เมืองไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้เช้าชม 3,501
แผ่นลวดลายกลีบบัวดินเผาประดับโบราณสถาน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดช้างล้อม จังหวัดกำแพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,490
กระบวยสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒) พบในบริเวณบ้านศรีบุญส่ง อำเภอไทรงาม จังหวัดกำเเพงเพชร นายนิเวศน์ มูลโมกข์ มอบให้
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,572
หลวงพ่ออุโมงค์ พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน องค์มหึมา พบที่วัดสว่างอารมณ์ กำแพงเพชร หลวงพ่ออุโมงค์ เป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ศิลปะเชียงแสน สิงห์สาม สร้างราวพุทธศักราช ๑๗๐๐ - ๑๘๐๐ มีข้อสันนิษฐานมากมาย ว่าท่านเสด็จมาอยู่ในกำแพงเพชรได้อย่างไร เพราะกำแพงเพชร มิได้อยู่ในสมัยเชียงแสน ข้อสันนิษฐานที่พิสดาร คือ เมื่อคราวพระเจ้าชัยศิริ โอรสของพระเจ้าพรหมมหาราช อพยพผู้คน มาตั้งเมืองแปบ เขตเมืองกำแพงเพชร ในราวพุทธศักราช ๑๖๐๐ อาจจะนำหลวงพ่ออุโมงค์มาเป็นมิ่งขวัญด้วย แต่พุทธลักษณะน่าจะเป็นเชียงแสนสิงห์หนึ่ง (อาจจะบูรณปฏิสังขรณ์ภายหลัง ทำให้พุทธลักษณะเปลี่ยนไป)
เผยแพร่เมื่อ 20-04-2020 ผู้เช้าชม 1,878
พระมาลัย ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 25) มีขนาดสูงพร้อมฐาน 15.7 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,552
พระอิศวร ศิลปะอยุธยา (ระบุมหาศักราช1432 หรือ พ.ศ 2053) เจ้าพระยาธรรมาโศกราช เจ้าเมืองกำแพงเพชร ได้หล่อขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๕๓ สถานที่ประดิษฐานแต่เดิมคือ ศาลพระอิศวร ซึ่งตั้งอยู่หลังศาลจังหวัดกำแพงเพชร
เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 851
เศียรเทวดาปูนปั้น ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาด สูง 27 เซนติเมตร กว้าง 14.5 เซนติเมตร พบที่วัดร้างข้างโรงเรียนนารีวิทยา นายประเสริฐ ศรีสุวพันธ์ มอบให้
เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,231