ท่อนองค์เทวสตรี

ท่อนองค์เทวสตรี

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้ชม 2,449

[16.4880015, 99.520214, ท่อนองค์เทวสตรี ]

ชื่อโบราณวัตถุ : ท่อนองค์เทวสตรี
แบบศิลปะ : ศิลปะอยุธยา
ชนิด : สำริด
อายุสมัย : (พุทธศตวรรษที่ 21)
ลักษณะ : เทวสตรี องค์นี้ อาจจะเป็นพระลักษมี ศักติของพระนารายณ์ หรือ พระอุมา ศักติของพระอิศวร ลักษณะเครื่องทรง มีกรองศอที่มีพวงอุบะสั้นๆ ห้อยประดับโดยรอบ  ผ้าทรงได้รับวิวัฒนาการจากผ้าทรงเทวรูปสมัยสุโขทัย คือ ทรงผ้าสองชิ้น  ชิ้นหนึ่งนุ่งรอบองค์คล้ายผ้าจีบ  อีกชิ้นหนึ่งเป็นเครื่องประดับอยู่ข้าง  ชายทั้งสองแหวกออกมามากกว่าเทวรูปสมัยสุโขทัย  ทำให้เห็นผ้าชั้นใน ซึ่งมีลวดลายประดับชัดเจน
ประวัติ : พบที่วัดกรุสี่ห้อง วัดนอกกำแพงเมือง
สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร

ภาพโดย : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

คำสำคัญ : ท่อนองค์เทวสตรี

ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). ท่อนองค์เทวสตรี . สืบค้น 27 กรกฎาคม 2567, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=338&code_db=DB0014&code_type=F0022

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=338&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

หม้อตาล

หม้อตาล

หม้อตาล ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-23) 

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 4,392

มกรสังคโลก

มกรสังคโลก

มกรสังคโลก ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 20-22) ที่วัดอาวาสใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร

 

    

  

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 3,267

บาลีดินเผา

บาลีดินเผา

บาลีดินเผา ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,123

ครกพร้อมสาก

ครกพร้อมสาก

ครกพร้อมสาก  สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 20) พระครุวิเชียรธรรมดชติ เจ้าอาวาสวัดบาง อำเภอเมือง มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 2,427

เทวรูปพระอิศวร

เทวรูปพระอิศวร

พระอิศวร หรือ พระศิวะ เทพเจ้าที่สำคัญของศาสนาพราหม์ -ฮินดู พระอิศวรคือเทพแห่งการประสาทพร เทพแห่งพิธีบวงสรวง เทพแห่งเสียงเพลงการร่ายรำ ทรงเป็นผู้บำบัดอาการเจ็บป่วยและขจัดปัดเป่าทุกข์ ทรงมีความกรุณายิ่งกว่าปวงเทพทั้งหลาย เทวรูปพระอิศวรจึงเป็นประติมากรรมชั้นพิเศษสุดที่ทรงคุณค่าแสดงถึงความเชื่อความศรัทธาของบรรพบุรุษ ในด้านประวัติศาสตร์และประติมากรรม การหล่อโลหะในสมัยโบราณ อีกทั้งเป็นที่เคารพของชาวกำแพงเพชรตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลากว่า 510 ปีมาแล้ว

เผยแพร่เมื่อ 17-01-2020 ผู้เช้าชม 3,307

เศียรเทวดาปูนปั้น

เศียรเทวดาปูนปั้น

เศียรเทวดาปูนปั้น ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาด สูง 27 เซนติเมตร กว้าง 14.5 เซนติเมตร พบที่วัดร้างข้างโรงเรียนนารีวิทยา นายประเสริฐ  ศรีสุวพันธ์ มอบให้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 1,525

พระพุทธรูปปางมารวิชัย

พระพุทธรูปปางมารวิชัย

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ศิลปะสมัย (พุทธศตวรรษที่ 21) มีขนาดสูงพร้อมฐาน 15.7 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 1,916

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว

โถเคลือบเขียว ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่19-20) พระครูวิธารวชิรศาสตร์ เจ้าอาวาสวัดเสด็จ จังหวัดกำแพงเพชร มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,184

ขันสำริด

ขันสำริด

ขันสำริด ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20-21) พบที่วัดคงหวาย จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 17-03-2017 ผู้เช้าชม 3,343

หลวงพ่อเพชร

หลวงพ่อเพชร

ตามประวัติเดิมหลวงพ่อเพชรประดิษฐานอยู่ที่วัดจอมทอง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ เมื่อครั้งสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยกทัพไปปราบหัวเมืองเหนือ ขณะเสด็จกลับผ่านเมืองพิจิตร พระพิจิตรเจ้าเมืองได้กราบบังคมทูลว่าตนต้องการพระพุทธรูปประจำเมือง เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จพระราชดำเนินกลับมาจากเชียงใหม่จึงทรงอัญเชิญหลวงพ่อเพชร ล่องแพมาทางลำน้ำปิง แล้วอัญเชิญหลวงพ่อเพชรประดิษฐานที่เมืองกำแพงเพชรก่อน และทรงแจ้งให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ พระพิจิตรได้รับทราบจึงนำชาวบ้านจำนวนมากไปเมืองกำแพงเพชร เพื่อทำการสักการะแล้วอัญเชิญ หลวงพ่อเพชรแห่แหน มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถวัดนครชุม เมืองพิจิตร(เก่า) ส่วนหลวงพ่อเพชรที่อยู่วัดปราสาทเป็นพระเนื้อสำริด

เผยแพร่เมื่อ 03-04-2019 ผู้เช้าชม 882