ลูกปัดเเก้ว

ลูกปัดเเก้ว

เผยแพร่เมื่อ 26-02-2017 ผู้ชม 1,463

[16.4880015, 99.520214, ลูกปัดเเก้ว]

ชื่อโบราณวัตถุ :   ลูกปัดเเก้ว
            แบบศิลปะ : ศิลปะทราวดี
            ชนิด :   ลูกปัด
            อายุสมัย :  (พุทธศตวรรษที่13-15)
            ลักษณะ :   ลูกปัด มีลักษณะเป็นเม็ด มีหลายรูปทรง เจาะรูเพื่อใช้ร้อยเข้าไปในเส้นด้ายหรือเชือก ซึ่งเป็นวัสดุที่ทนและไม่ขาดง่าย 
            ประวัติ :   ลูกปัดเเก้ว  เป็นเรื่องราวของวัตถุที่มีลักษณะเป็นเม็ด มีหลายรูปทรง เจาะรูเพื่อใช้ร้อยเข้าไปในเส้นด้ายหรือเชือก ซึ่งเป็นวัสดุที่ทนและไม่ขาดง่าย ลูกปัดเป็นสิ่งที่มนุษย์ทำขึ้นและใช้เมื่อหลายพันและหลายหมื่นปีมาแล้ว  มนุษย์ในสมัยแรกๆ  ทำลูกปัดจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ เช่น กระดูกสัตว์ เขี้ยว เปลือกหอย เมล็ดพืช เปลือกไม้ ยางไม้ ต่อมามนุษย์ทำลูกปัดจากวัสดุที่ทำขึ้นเอง เช่น ดินเผา แก้ว สำริด ทอง เป็นต้น ลูกปัดถูกใช้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากมีการขุดพบลูกปัดมากมายในแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ทั้งหลาย ลูกโบราณที่ขุดพบนั้นทำมาจากวัสดุต่างๆ อาทิ              
            สถานที่จัดแสดง :   พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
            สถานที่พบ :   พบที่วัดไตรตรึงษ์ (วัดเจ็ดยอด) อำเภอเมือง จังหวัดกำเเพงเพชร

ภาพโดย :   http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

คำสำคัญ : ลูกปัดเเก้ว

ที่มา : http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/kamphaengphet

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2560). ลูกปัดเเก้ว. สืบค้น 28 มีนาคม 2566, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=316&code_db=610012&code_type=01

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=316&code_db=610012&code_type=01

Google search

Mic

พระมาลัย

พระมาลัย

พระมาลัย  ศิลปะรัตนโกสินทร์   (พุทธศตวรรษที่ 25)  มีขนาดสูงพร้อมฐาน 15.7 เซนติเมตร หน้าตักกว้าง 7 เซนติเมตร

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,269

เศียรครุตฑปูนปั้น

เศียรครุตฑปูนปั้น

เศียรครุตฑปูนปั้น  ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑)  พบในจังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 27-02-2017 ผู้เช้าชม 770

เเม่พิมพ์ดินเผาพระพิมพ์ปางสมาธิ (พระเชตุพน)

เเม่พิมพ์ดินเผาพระพิมพ์ปางสมาธิ (พระเชตุพน)

เเม่พิมพ์ดินเผาพระพิมพ์ปางสมาธิ (พระเชตุพน) ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 20) มอบจากโรงเรียนนครชุม 

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 643

เทวรูปพระอีศวร

เทวรูปพระอีศวร

พระอีศวร หรือ พระศิวะ เทพเจ้าที่สำคัญของศาสนาพราหม์ -ฮินดู พระอีศวรคือเทพแห่งการประสาทพร เทพแห่งพิธีบวงสรวง เทพแห่งเสียงเพลงการร่ายรำ ทรงเป็นผู้บำบัดอาการเจ็บป่วยและขจัดปัดเป่าทุกข์ ทรงมีความกรุณายิ่งกว่าปวงเทพทั้งหลาย เทวรูปพระอีศวรจึงเป็นประติมากรรมชั้นพิเศษสุดที่ทรงคุณค่าแสดงถึงความเชื่อความศรัทธาของบรรพบุรุษ ในด้านประวัติศาสตร์และประติมากรรม การหล่อโลหะในสมัยโบราณ อีกทั้งเป็นที่เคารพของชาวกำแพงเพชรตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลากว่า 510 ปีมาแล้ว

เผยแพร่เมื่อ 17-01-2020 ผู้เช้าชม 2,233

วัดพานิชย์นิรมล

วัดพานิชย์นิรมล

วัดพานิชย์นิรมล ตั้งอยู่เลขที่ ๓ บ้านอุ้มผาง หมู่ที่ ๑ ตำบลอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๓ ไร่ ๘๖ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศใต้ติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันออกติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันตกติดต่อกับทางสาธารณะ โดยมี น.ส. ๓ ก เลขที่ ๕๔๘ เป็นหลักฐาน

เผยแพร่เมื่อ 16-08-2018 ผู้เช้าชม 521

แผ่นลวดลายกลีบบัวดินเผาประดับโบราณสถาน

แผ่นลวดลายกลีบบัวดินเผาประดับโบราณสถาน

แผ่นลวดลายกลีบบัวดินเผาประดับโบราณสถาน  ศิลปะอยุธยา  (พุทธศตวรรษที่ 21)  พบที่วัดช้างล้อม  จังหวัดกำแพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,293

เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ

เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ

เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ  ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดพระเเก้ว จังหวัดเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 651

โถพร้อมฝา

โถพร้อมฝา

โถพร้อมฝา  ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 20) นายอาจ รักษ์มณี อดีตผู้ว่าราชการจังหวัด มอบให้

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 658

เเผ่นลวดลายปูนปั้นรูปเทพนมประดับโบราณสถาน

เเผ่นลวดลายปูนปั้นรูปเทพนมประดับโบราณสถาน

เเผ่นลวดลายปูนปั้นรูปเทพนมประดับโบราณสถาน ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดพระเเก้ว จังหวัดกำเเพงเพชร

เผยแพร่เมื่อ 18-03-2017 ผู้เช้าชม 1,123

มกรสังคโลก

มกรสังคโลก

มกรสังคโลก  ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๒o-๒๒) ที่วัดอาวาสใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร

 

    

  

เผยแพร่เมื่อ 08-03-2017 ผู้เช้าชม 2,496