ประเพณีตานต้อด

ประเพณีตานต้อด

คำว่า “ตานต๊อด” ภาษากลาง คือ ทานทอด เป็นคำประสมระหว่างคำว่า ทาน กับ ทอด ความหมายคือ “วางของให้” ก็คือการให้ทาน ซึ่งเป็นประเพณีที่แสดงถึงความเอื้ออาทรของชาวบ้านที่มีต่อคนทุกข์ยาก เป็นการทำบุญด้วยใจไม่หวังผลตอบแทน ประเพณีตานต๊อดมีต้นกำเนิดมาจากล้านนา ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการทำบุญประเภทนี้จึงมีแต่เฉพาะทางภาคเหนือของประเทศไทยเท่านั้น และในปัจจุบันการตานต๊อดไม่ค่อยแพร่หลาย เด็กและเยาวชนรุ่นหลังส่วนใหญ่ไม่รู้จักประเพณีตานต๊อดกันแล้ว จึงน่าเป็นห่วงอย่างยิ่งว่า หากไม่มีการอนุรักษ์ฟื้นฟู ประเพณีที่ดีงามดังกล่าวจะสูญหายไปจากสังคมไทย

17.0640255, 98.3370185

เผยแพร่เมื่อ 27-01-2022 ผู้เช้าชม 1,469


 

Google search

Mic

เหรียญรุ่นแรก หลวงพ่อแขก (หลังนางกวัก)

เหรียญรุ่นแรก หลวงพ่อแขก (หลังนางกวัก)

เหรียญรุ่น 1 สร้างเมื่อหลวงพ่ออายุได้ 54 ปี ลักษณะรูปเหรียญด้านหน้าเหมือนเหรียญหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กทม. ปี พ.ศ. 2500 เข้าใจว่าจัดสร้างโรง

เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ

เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ

เเผ่นปูนปั้นประดับโบราณ  ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบที่วัดพระเเก้ว จังหวัดเเพงเพชร

การก่อเจดีย์ทราย

การก่อเจดีย์ทราย

มีเรื่องเล่าว่าพระเจ้าปเสนทิโกศลได้เสด็จไปยังเมืองสาวัตถีพร้อมบริวาร ได้เห็นหาดทรายขาว บริสุทธิ์ก็เกิดจิตศรัทธาก่อทรายเป็นเจดีย์ 8 หมื่น 4 พันองค์

เศียรครุฑปูนปั้น

เศียรครุฑปูนปั้น

เศียรครุฑปูนปั้น ศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 21) พบในจังหวัดกำเเพงเพชร