ชนเผ่าล่าหู่ (LAHU)

ชนเผ่าล่าหู่ (LAHU)

ตามประวัติศาสตร์ของชนชาติ “ลาหู่” มีมานานไม่ต่ำกว่า 4,500 ปี โดยชาวลาหู่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในธิเบต และอยู่ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ต่อมาได้ทยอยอพยพลงมาอยู่ทางตอนใต้ของจีน โดยแบ่งออกเป็นสองสาย คือส่วนหนึ่งอพยพเข้ามาในแคว้นเชียงตุง ประเทศพม่า เมื่อพ.ศ. 2383 และราว พ.ศ. 2423 ได้เข้ามาอยู่ทางตอนเหนือของประเทศไทย โดยตั้งรกรากที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นแห่งแรก อีกส่วนหนึ่งได้อพยพเข้าไปในประเทศลาวและเวียดนาม ทั้งนี้ชนเผ่าลาหู่ได้แบ่งเป็นเผ่าย่อยอีกหลายเผ่า อาทิ ลาหู่ดำ ลาหู่แดง ลาหู่เหลือง ลาหู่ขาว ลาหู่ปะกิว ลาหู่ปะแกว ลาหู่เฮ่กะ ลาหู่ลาบา ลาหู่เชแล ลาหู่บาลา เป็นต้น 

16.2844429, 98.9325649

เผยแพร่เมื่อ 27-04-2020 ผู้เช้าชม 24,014


 

Google search

Mic

กระเจี๊ยบมอญ

กระเจี๊ยบมอญ

ต้นกระเจี๊ยบมอญเป็นไม้ล้มลุก สูง 5-2 เมตร มีขนทั่วไป ใบกระเจี๊ยบมอญเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับรูปไข่หรือค่อนข้างกลม กว้าง 10-30 เซนติเมตร ปลายหยักแหลม โ

เลียบ

เลียบ

ลักษณะทั่วไป  ต้นเป็นพรรณไม้ยืนต้น มีขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 8-15 เมตร  ใบลักษณะของใบยาวเรียว ผิวใบเรียบ ใบอ่อนมีสีน้ำตาลแดงปนสีเขียวอ่อ

ผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยชากังราว ของชาวจังหวัดกำแพงเพชร

ผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยชากังราว ของชาวจังหวัดกำแพงเพชร

เฉาก๊วยชากังราว มีโรงงานผลิตอยู่ที่ ต.หนองปลิง อ.เมือง จ.กำแพงเพชร แต่ผู้อ่านทุกๆ ท่านไม่จำเป็นต้องลำบากไปชิมเฉาก๊วยถึงกำแพงเพชรเนื่องจากทางโรงงานม

ถ้ำแม่อุสุ

ถ้ำแม่อุสุ

ถ้ำแม่อุสุถูกค้นพบก่อน ปีพ.ศ. 2530 ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าใครเป็นผู้ค้นพบคนแรก ชาวปะกะญอ(ปกากะญอ) เรียกถ้ำแม่อุสุว่า “ทีหนึปู่” แปลว่าน้ำ