คอกช้างเผือก
ตั้งอยู่เขตบ้านท่าอาจ ตำบลท่าสายลวด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก การเดินทางตามทางหลวงหมายเลข 105 ก่อนถึงตลาดริมเมยประมาณ 1 กิโลเมตร เลี้ยวขวาผ่านหน้าวัดไทยวัฒนารามตามทางลาดยางประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบโบราณสถานคอกช้างเผือก หรือพะเนียดช้างทำเป็นกำแพงก่อด้วยอิฐมอญ มีความสูงประมาณ 1 เมตรเศษ กว้างประมาณ 25 เมตร ยาวประมาณ 80 เมตร
16.701945, 98.5095832
เผยแพร่เมื่อ 17-08-2018 ผู้เช้าชม 4,411
คอกช้างเผือก
คอกช้างเผือก ตั้งอยู่เชิงเขาด้านทิศตะวันตกของอำเภอแม่สอด บนฝั่งแม่น้ำเมย ในเขตอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สันนิษฐานว่า เป็นสถานที่ที่สร้างขึ้นสำคัญในสมัยกรุงสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ตามเกล็ดพงศาวดารกล่าวว่าเมื่อมะกะโท (คนเลี้ยงช้างชนชาติมอญ กาลต่อมาได้เป็นขุนวัง) ได้ลักพาเจ้าหญิงพระธิดาของพ่อขุนรามคำแหงหนีไปอยู่กรุงหงสาวดี ต่อมามะกะโทได้รับแต่งตั้งสถาปนาเป็นพระเจ้าแผ่นดินทรงพระนามว่า พระเจ้าฟ้ารั่ว ที่กรุงสุโขทัยในเวลานั้น มีช้างเผือกอยู่เชือกหนึ่งดุร้ายมาก พ่อขุนรามคำแหงจึงทรงเสี่ยงสัตย์อธิษฐานว่า หากช้างเผือกเชือกนั้นเป็นช้างคู่บารมีของกษัติรย์นครใดก็ขอให้บ่ายหน้าไปทางนั้น
16.702, 98.509054
เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 828
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
นิ่แมะ (มัดย้อม) มีความสำคัญในอดีตพุทธกาล พระพุทธเจ้าได้สั่งไว้ว่า ลายนิ่แมะอย่าทำหาย เพราะจะต้องใช้ในงานมงคล เช่น งานแต่งงานของกะเหรี่ยง ลักษ
ต้นกำลังพญาเสือโคร่งนี้เป็นไม้ยืนต้นสูงขนาดใหญ่ โดยมีความสูงของลำต้นประมาณ 20-40 เมตร เปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอมเทาเหลือบดำ และมีต่อมระบายอากาศอยู่มีล
เถาตดหมา จัดเป็นไม้เถาเนื้ออ่อนล้มลุก มักเลื้อยตามพื้นดิน ลำต้นเล็กและเรียว เถานั้นมีความยาวได้ประมาณ 4 เมตร ลำต้นเป็นเหลี่ยมหรือมีปีกแคบ ๆ ขย
พุทธรักษา เป็นพรรณไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย แอฟริกา และอเมริกา และภายหลังได้กระจายพันธุ์ออกไปยังเอเชียเขตร้อน โดยจัดเป็นไม้ล้มลุกเนื้อ