กระทงดอกไม้กับธูปเทียนแพร
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้ชม 967
[16.3858304, 99.5097984, กระทงดอกไม้กับธูปเทียนแพร]
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะ ในการจัดโต๊ะหมู่ตั้งเครื่องสักการะเบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ควรประดับธงชาติไว้ ด้านขวาของพระบรมฉายาลักษณ์(ยึดพระหัตถ์ขวาเป็นหลัก) ในปีพุทธศักราช 2549 ซึ่งเป็นปีแห่งการ ฉลองการครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีการประดับธงตราสัญลักษณ์ ของงานฯ ที่ด้านซ้ายของพระบรมฉายาลักษณ์ บนโต๊ะหมู่ตั้งเครื่องสักการะ วางพานพุ่มทองไว้บนแท่น บูชาด้านขวาและวางพานพุ่มเงินไว้ที่ด้านซ้ายของพระบรมฉายาลักษณ์พานธูปเทียนแพ วางไว้ตรง กลางในระดับต่ำกว่าพานพุ่มเงิน พานพุ่มทอง ส่วนพระนามาภิไธยย่อ ภปร.หรือ สก. ประดับไว้เหนือ พระบรมฉายาลักษณ์ตรงกลางเหนือพระเศียรได้ส่วนตราสัญลักษณ์จัดวางไว้ในตำแหน่งด้านขวา ของภาพในระดับที่ต่ำกว่าพระเศียรเล็กน้อยสำ หรับการลงนามในสมุดถวายพระพรของประชาชน ทั่วไปนั้น ให้ใช้ปากกาหมึกสีน้ำเงินและเขียนด้วยตัวบรรจง
การใช้งาน
- พระสงฆ์ใช้สักการะ หรือทำวัตรอุปัชฌาย์อาจารย์
- พระสงฆ์ คฤหัสถ์ ใช้เป็นเครื่องสักการะพระเถระผู้ใหญ่ ในโอกาสพิเศษ
- ใช้ตั้งบูชาพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในโอกาสต่างๆ
- วัสดุ-อุปกรณ์
- ใบตอง ดอกพุด
- เข็ม พาน
- ด้าย ดอกข่า
- กรรไกร ดอกกุหลาบ
- ธูปเทียนแพร ตะปูเข็ม
วิธีการทำ
- ตัดก้านดอกพุดออกครึ่งหนึ่ง
- ติดตะปูเข็มบนเทียนระยะห่างกันประมาณ 1 เซนติเมตร
- ร้อยดอกพุดกับตะปู
- พอสุดขอบตะปูให้ใช้เข็มร้อยดอกพุดย้อนกลับลงหาปลายดอก
- ม้วนคล้องด้ายให้ติดกับปลายดอก
6-8. ร้อยดอกพุดตามแบบเหมือนชั้นที่ 1 ไล่ระดับจนหมด
9-10. เมื่อร้อยครบทุกชั้นนำดอกพุดมาร้อยชั้นที่ 1 ร้อยดอกพุด 3 ดอกตามแบบ
- ชั้นที่ 2 ใส่ดอกพุด 2 ดอก
12-14. ใส่ดอกพุดสลับไปมาอย่างนี้จนได้ความยาว 7 นิ้ว
15-16. นำใบตองมาพับตามแบบ
- นำใบตองที่พับไว้มาจากซ้อนกัน
- จับมุมใบตองมาพับซ้อนกันตามแบบ
19-22. ใช้เข็มเย็บติดกันค่อยๆใส่ทีละตัว
- ฉีกใบตอง 3 นิ้ว
- ใบตองพับครึ่งตามแนวยาว
25-27. พับใบตองจับจีบคล้ายพัดตามแบบ
28-29. นำมาเย็บติดกับฐานวงกลมของใบตองโดยรอบ
30-31. เย็บติดกัน 2 ชั้นแล้วตัดใบตองเป็นรูปวงกลมปิดด้านบน
- พับใบตองให้ได้เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า
33-34. แล้วพับเก็บมุมใบตองด้านขวาพับ 2 ครั้งจนถึงด้านในให้เกิดเส้นตรงกลาง
35-36. พับมุมด้านซ้ายและขวาเข้าหากัน
- มัดดอกข่าด้วยกลีบดอกกุหลาบตามแบบ
- นำใบตองที่เย็บเสร็จมาตัดออก 1 ข้าง
- นำใบตองที่พับได้มาประกอบเป็นกระทง
40-41. จับกลีบเล็บครุฑมาติดขอบกระทงโดยรอบใส่สับหว่างกัน 2 ชั้น
42-44. ม้วนกรวยกระทงแล้วเย็บขอบกรวยใบตองตาม
- เตรียมอุปกรณ์การประกอบให้พร้อม
- นำมาลัยดอกพุดที่ได้รัดขอบของธูปเทียนแพรทั้งซ้ายและขวา
- นำถาดใบตองวางด้านบน
- นำกระทงวางบนถาดใบตองที่เตรียมไว้
- ในกระทงตกแต่งด้วยดอกไม้
50. นำกรวยใบตองปิดบนกระทงตกแต่งให้สวยงาม
คำสำคัญ : บายศรี
ที่มา : 253/1 หมู่ 1
รวบรวมและจัดทำข้อมูล : นักศึกาษา รหัส 5912206
https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=1100&code_db=DB0019&code_type=002
บายศรีกาญจนากร
ตัวบายศรีพับด้วยกลีบหางหงส์ ตกแต่งด้วยดอกคาร์เนชั่นใบปริก ม้วนกรวยเจียงวางตรงกลางชามร้อยมาลัยตุ้มเสียบปลายยอดกรวยแมงดาพับกลีบ 3 ผกา 3 ชั้น
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 153
บายศรีปากชาม
บายศรีรองด้วยชามประดับไปด้วย ดอกไม้มงคลต่างๆ บายศรีปากชาม เป็นบายศรี ที่ใช้ในการ สักการบูชา เทพยดา ครูบาอาจารย์ ในการบวงสรวง เทพยดาในทุกๆ พิธีกรรม จะขาดบายศรีปากชามไม่ได้
เผยแพร่เมื่อ 14-03-2018 ผู้เช้าชม 223
บายศรีปากชาม แบบที่ 1
บายศรีปากชามค่อนข้างจะเป็นบายศรีที่มีความสำคัญมากเลยล่ะ เพราะส่วนใหญ่แล้วบายศรีประเภทอื่น ๆ ก็มักจะมีแม่แบบมาจากตัวบายศรีปากชามเลย หรือจะให้เข้าใจกันง่าย ๆ คือ ตัวบายศรีปากชามนั้นเป็นแม่แบบให้แก่บายศรีอื่น ๆ นั่นเอง โดยตัวบายศรีปากชามมักจะถูกล้อมรอบไปด้วยใบตองจับจีบเป็นรูปร่างต่าง ๆ ตกแต่งอยู่รอบ ๆ มีกรวยใบตองม้วนตั้งอยู่บนกลางองค์บายศรี บนยอดกรวยเองก็มีไข่ต้มและดอกไม้ประดับประดาอยู่เต็ม ภายในกรวยม้วนเองนั้นก็มีการบรรจุข้าวตอกและดอกไม้อยู่ภายใน และมีการตั้งตัวบายศรีไว้บานปากชามงาม ๆ จึงเป็นที่มีของชื่อว่าบายศรีปากชาม แต่ถ้าไม่สามารถที่จะหาชามรูปงามมาเพื่อใส่ตัวบายศรีได้เลย
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 135
บายศรีบัลลังก์
บายศรีบัลลังก์บรมครู บายศรีบัลลังก์ศิวะ บายศรีบัลลังก์นารายณ์ (ส่วนใหญ่จะทำเป็นรูปพญานาค มี ๕ - ๗ เศียรที่เรียกกันว่า บายศรีพญานาค) บายศรีบัลลังก์พระยาครุฑ บายศรีบัลลังก์ธรรมจักร บายศรีบัลลังก์พระพิฆเนศ บายศรีบัลลังก์จุฬามณี
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 149
บายศรีหลัก
บายศรีหลักเป็นบายศรีสลับกันไป เช่น ชั้นแรก ๓๒ ลูก หรือ ๑๖ ลูก ชั้นต่อไปก็ลดลงตามแต่ผู้สั่งจะสั่งทำ บายศรีหลักจะมี ๙ ชั้น หรือ ๗ ชั้น หรือ ๕ ชั้นแล้วแต่การใช้ในแต่ละงาน ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในพิธีไหว้ครูใช้ในงานพิธีสำคัญ เช่น บายศรีทูลพระขวัญ ในพิธีทูลพระขวัญ บายศรีหลักที่ใช้ในพิธีจะใช้บายศรีเดี่ยว ๑ หลัก ถ้าใช้ในพิธีกรรมอื่นนิยมใช้เป็นคู่ หรือถ้าจะใช้แบบเดี่ยว ต้องตั้งบายศรีหลักไว้ตรงกลาง
เผยแพร่เมื่อ 14-03-2018 ผู้เช้าชม 171
บายศรีอภัยทาน
งานประดิษฐ์ดอกไม้ใบตอง เป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยที่มีมาช้านาน ใช้ในงานพิธีต่าง ๆ ในสมัยก่อนงานใบตองประดิษฐ์ขึ้นโดยใช้ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของต้นกล้วย
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 493
บายศรีตอ
เป็นบายศรีที่ใช้ต้นกล้วย เป็นแกนกลาง ใช้รัดด้วยบายศรี เป็นชั้นหนึ่ง บนยอด จะใส่กระทง หมาก พลู บุหรี่ ของหวาน
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 813
บายศรีแต่งงาน
บายศรีจะมีความสูงที่ 3 ชั้น หรือ 7 ชั้นก็ได้ เป็นบายศรีที่ใช้ในการเริ่มต้นของชีวิตคู่
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 138
บายศรีพรหมหางหงษ์
บายศรีทำจากใบตองสดและริบบิ้นโทนสีเหลือง-ส้ม ยอดบายศรีประดับดอกบัว/ดาวเรือง กรวยใบตองจับจีบคาดดิ้นเงิน-ทอง รองกรวยด้วยกลีบใบตองสอดริบบิ้น
เผยแพร่เมื่อ 16-03-2018 ผู้เช้าชม 216
บายศรีผ้า
บายศรีที่ทำมาจากผ้าดัดแปลมาจากทำบายศรีเทพที่ใช้ใบตองบายศรีผ้าเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
เผยแพร่เมื่อ 14-03-2018 ผู้เช้าชม 296