ท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมสลกบาตร
การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมหรือการท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ กลายเป็นการท่องเที่ยวอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศในขณะนี้ โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษ กับวัด แหล่งโบราณสถาน และสถานที่ปฏิบัติธรรม เนื่องจากวัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศไทยที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และมีการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมสืบเนื่องมาเป็นเวลาช้านานแล้ว มีคุณค่าต่อจิตใจและมีความศักดิ์สิทธ์และงดงามเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวไทย วัดจึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทหนึ่ง คือเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวประเภทที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่มีความแตกต่างจากแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นประเภทอื่นเนื่องจากมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรม และสังคม รวมถึงความผูกพันทางจิตใจต่อชนรุ่นหลัง
16.0204176, 99.1177535
เผยแพร่เมื่อ 21-06-2022 ผู้เช้าชม 1,043
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
ชนเผ่าม้ง : ของใช้ในชีวิตประจำวัน
อุปกรณ์ เครื่องใช้ของม้งโดยปกติแล้วม้งจะมีการทำงานหนักในไร่หรือในสวนต่าง ๆ ม้งจึงมีการตีมีดให้เหมาะสมกับงานที่ทำเช่น การตัดไม้จะต้องใช้ มีดด้ามยาว
การเข้าพรรษา เป็นพุทธบัญญัติ ซึ่งพระภิกษุทุกรูปจะต้องปฏิบัติตาม หมายถึง การอธิษฐานอยู่ประจำที่ไม่เที่ยวจาริกไปยังสถานท
ค่าว วรรณศิลป์พื้นถิ่น ในย่านคนลาว(ยวน) ที่หัวเดียด
ค่าว คือ กลอน คำประพันธ์พื้นบ้าน ที่ต้องอาศัยความชาญฉลาดของผู้แต่งในด้านคำสัมพันธ์ เสียงเสนอะ และต้องมีความเชี่ยวชาญในด้านภาษาถิ่นด้วย ชุมชนหัวเดีย
การแทงหยวก เป็นศิลปะอย่างหนึ่งซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาของคนไทยที่รู้จักประยุกต์นำสิ่งของใกล้ตัวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การแทงหยวกจะใช้ในงานพิธีต่างๆ เช่น