ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9

ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้ชม 757

[17.1592707, 98.7931449, ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9]

ประเพณีขึ้นธาตุเดือน  9  งานขึ้นธาตุเดือน 9  เป็นงานบุญที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการบูชาพระบรมธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กำหนดการจัดในวันขึ้น  14  ค่ำ และ 15  ค่ำ เดือน  9  ของภาคเหนือ  หรือตรงกับเดือน  7  ของไทย ประมาณปลายเดือนพฤษภาคมหรือเดือนมิถุยายนของทุกปี ภายในงานมีการจัดขบวนแห่  เช่น  ขบวนกลองยาว ขบวนปัจจัยไทยทาน ขบวนต้นเงิน ขบวนต้นผ้าป่า ขบวนตุงไชย ผ้าห่มองค์พระธาตุ โดยเริ่มจากหนองเล่มผ่านสะพานบุญไปยังวัดพระบรมธาตุ  เพื่อทำพิธีถวายผ้าห่มองค์พระธาตุ   และทำพิธีบวงสรวงเจดีย์ยุทธหัตถีซึ่งเป็นเจดีย์ที่พ่อขุนรามคำแหงฯ ได้สร้างไว้ในคราวทำสงครามยุทธหัตถีชนะขุนสามชน  เจ้าเมืองฉอด  ที่ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของวัดพระบรมธาตุ  และทำบุญตักบาตรตามประเพณี  ณ  วัดพระบรมธาตุ   อำเภอบ้านตาก

 

คำสำคัญ : ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9

ที่มา : http://123.242.165.136/?module=acticle&pages=acticle_detail&acti_code=A0000317

รวบรวมและจัดทำข้อมูล : กาญจนา จันทร์สิงห์


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. (2561). ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9. สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2567, จาก https://arit.kpru.ac.th/ap/local/?nu=pages&page_id=664&code_db=DB0016&code_type=0014

Facebook Twitter LINE Linkedin

PDF

https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?nu=pages&page_id=664&code_db=610004&code_type=TK005

Google search

Mic

ประเพณีแข่งเรือพายโบราณ

ประเพณีแข่งเรือพายโบราณ

งานประเพณีลอยกระทงสายและประเพณีแข่งเรือพายโบราณ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของชาวอำเภอบ้านตาก กล่าวคือ จะมีการจัดกิจกรรมทั้งกลางวันและกลางคืน โดยภาคกลางวัน มีการแข่งขันเรือพายโบราณชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามฯ บรมราชกุมารี การแข่งขันเรือยาว 30 ฝีพาย ภาคกลางคืน การแข่งขันลอยกระทงสายที่มีความแตกต่างจากการลอยกระทงโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งอำเภอบ้านตากถือเป็นแหล่งต้นกำเนิดของงานประเพณีนี้ จึงทำให้การลอยกระทงสายมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง

เผยแพร่เมื่อ 27-01-2022 ผู้เช้าชม 1,453

เตียงพระเจ้าวัดบรมธาตุบ้านตาก

เตียงพระเจ้าวัดบรมธาตุบ้านตาก

เตียงพระเจ้าเป็นหนึ่งในเครื่องถวายเมื่อการสมโภชพระพุทธรูปใหม่หรือเมื่อมีการบูรณะปฏิสังขรณ์พระพุทธรูป เพราะมีคติความเชื่อว่า องค์พระพุทธรูปนี้ จะสร้างด้วยไม้ ปูน หรือโลหะก็ดี วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำหรือระหว่างการบูรณะ อาจมีการกระทำอันไม่สมควรอาจเป็นอัปมงคล เมื่อพระพุทธรูปแล้วเสร็จก็ถือว่ายังไม่สมบูรณ์ ต่อเมื่อทำพิธีบวชเสียก่อนจึงจะสำเร็จเป็นพระพุทธรูปให้คนกราบไหว้ได้ และมีคติว่าพระพุทธองค์มีวรรณะเป็นกษัตริย์ จึงต้องสร้างเครื่องราชกกุธภัณฑ์ เครื่องราชูประโภคถวายก่อนการบวช ซึ่งมีเครื่องใช้ประกอบในพิธีอีกหลายประการ

เผยแพร่เมื่อ 01-02-2022 ผู้เช้าชม 570

ประเพณีพระธาตุเดือน 9

ประเพณีพระธาตุเดือน 9

ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9 งานขึ้นธาตุเดือน 9 เป็นงานบุญที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการบูชาพระบรมธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมมาพุทธเจ้า กำหนดการจัดในวันขึ้น 14 ค่ำ และ 15 ค่ำ เดือน 9 ของภาคเหนือ หรือตรงกับเดือน 7 ของไทย ประมาณปลายเดือนพฤษภาคม หรือเดือนมิถุนายนของทุกปี ภายในงานมีการจัดขบวนแห่ เช่น ขบวนกลองยาว ขบวนปัจจัยไทยทาน ขบวนต้นเงิน ขบวนต้นผ้าป่า ขบวนตุงไชย ผ้าห่มองค์พระธาตุ

เผยแพร่เมื่อ 31-01-2022 ผู้เช้าชม 2,054

พิธีส่งสการ

พิธีส่งสการ

พิธีส่งสการ คือ พิธีกรรมเกี่ยวกับการปลงศพ ชาวล้านนามีคติที่เกี่ยวกับพิธีงานศพที่ลุ่มลึกและซ่อนด้วยคติความเชื่ออย่างมากมาย การประกอบพิธีจูงศพด้วยสายจูง สายสิญจน์ เชิญร่างบรรจุในโลงบนล้อเกวียนออกจากวัด โดยชาวบ้านก่อกองฟอนบริเวณลานหน้าวัด อันเป็นหนึ่งในผังของวัดที่สำคัญของล้านนาที่นิยมมีข่วงหน้าวัดเพื่อใช้งานด้านต่าง ๆ รวมไปถึงการประกอบพิธีการสงสะการตุ๊เจ้าด้วย หลังจากนั้นบรรจุร่างบนปราสาท ศิลปะพื้นบ้าน นอกจากนั้นในพิธีดังกล่าวมีการเผาศพในช่วงกลางวันแบบโบราณซึ่งต่างจากความนิยมในปัจจุบันทางภาคเหนือที่ต่างหันไปนิยมประกอบพิธีสงสการตุ๊หลวง(เจ้าอาวาส) ในช่วงกลางคืนมากขึ้น ส่วนพระที่ไม่ต่างปราสาทหลวงก็ยังนิยมประชุมเพลิงตอนบ่ายอยู่เช่นกันในสังคมล้านนา งานส่งสการมิได้เป็นเพียงงานที่เกิดขึ้นบนความโศกเศร้าเพียงเท่านั้นยังเป็นงานที่ศิลปินได้มีโอกาสถ่ายทอดฝีมืออันวิจิตรผ่านปราสาทด้วย เป็นการต่อลมหายใจให้สล่าอยู่คู่สังคมสืบไป

เผยแพร่เมื่อ 01-02-2022 ผู้เช้าชม 3,943

ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9

ประเพณีขึ้นธาตุเดือน 9

ประเพณีขึ้นธาตุเดือน  9  งานขึ้นธาตุเดือน 9  เป็นงานบุญที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการบูชาพระบรมธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กำหนดการจัดในวันขึ้น  14  ค่ำ และ 15  ค่ำ เดือน  9  ของภาคเหนือ  หรือตรงกับเดือน  7  ของไทย ประมาณปลายเดือนพฤษภาคมหรือเดือนมิถุยายนของทุกปี ภายในงานมีการจัดขบวนแห่  เช่น  ขบวนกลองยาว ขบวนปัจจัยไทยทาน ขบวนต้นเงิน ขบวนต้นผ้าป่า ขบวนตุงไชย ผ้าห่มองค์พระธาตุ

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 757

ประเพณีการแข่งขันเรือพายโบราณ

ประเพณีการแข่งขันเรือพายโบราณ

งานประเพณีลอยกระทงสายและประเพณีแข่งเรือพายโบราณ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของชาวอำเภอบ้านตาก จะมีการจัดกิจกรรมทั้งกลางวันและกลางคืน โดยภาคกลางวัน มีการแข่งขันเรือพายโบราณชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามฯบรมราชกุมารี การแข่งขันเรือยาว 30 ฝีพาย ภาคกลางคืน การแข่งขันลอยกระทงสายที่มีความแตกต่างจากการลอยกระทงโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งอำเภอบ้านตากถือเป็นแหล่งต้นกำเนิดของงานประเพณีนี้ จึงทำให้การลอยกระทงสายมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 1,847

ตุงค่าว

ตุงค่าว

จารีตเก่าที่สืบทอดในสังคมภาคเหนือมายาวนาน ดีใจเหลือเกินที่ชุมชนเกาะลาน และวัดเกาะลาน อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก ฮักฮาขนบจารีตของชุมชน ฮักฮางานพุทธศิลป์ด้วยการแขวน ตุงค่าวธรรม ในประเพณีการตั้งธรรมหลวง "เตดธรรม" เป็นจารีตที่งดงามและควรอนุรักษ์ให้อยู่คู่ท้องถิ่นของจังหวัดตากสืบไป นานมาแล้วแอดมินเคยสำรวจพบว่าที่ชุมชนเชียงทองยังมีคติการแขวนตุงค่าวธรรมในงานเต็ดธรรม อยู่เช่นเดียวกัน ขอชื่อชมและเป็นกำลังใจชุมชนรักษาขนบธรรมเนียบจารีตประเพณีที่ดีงามของชุมชนเป็นมรดกของท้องถิ่นของเรา ทำให้ตุงค่าวธรรมงานพุทธศิลปยังคงมีบทบาทในงานศาสนาพิธี ต่อลมหายใจงานพุทธศิลป์

เผยแพร่เมื่อ 26-01-2022 ผู้เช้าชม 590

การนับถือผี

การนับถือผี

การนับถือผีเป็นความเชื่อที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นความเชื่อร่วมในสังคมอุษาคเนย์ แม้ภายหลังพรหมณ์ฮินดูและพุทธศาสนาจะแพร่หลายเข้ามาในประเทศไทย โดยเฉพาะในดินแดนภาคเหนือที่รับพุทธศาสนาผ่านกลุ่มมอญมาแต่ยุคหริภุญไชย แต่ความเชื่อเรื่องผีก็ยังคงฝั่งรากลึกในสังคมชาวภาคเหนือ จังหวัดตากเมืองชายแดนวัฒนธรรมล้านนา-สยามกลุ่มชาวไทยวน(คนลาวตามคนท้องถิ่นเรียก)มีประเพณีที่สืบทอดมาในชุมชนคือการเลี้ยงผีเจ้านายและผีบรรพบุรุษซึ่งนิยมเลี้ยงในช่วงก่อนเทศกาลเข้าพรรษา

เผยแพร่เมื่อ 26-01-2022 ผู้เช้าชม 680