วัดไตรภูมิ
วัดไตรภูมิสันนิษฐานว่าน่าจะสร้างขึ้นในสมัยกรุงสุโขทัย จากหลักฐานภายในวัดมีพระพุทธรูปเนื้อสัมฤทธิ์สมัยสุโขทัย ประดิษฐานบนฐานชุกชี ภายในวิหาร (ปัจจุบันได้บูรณะใหม่ทั้งวิหารและหลวงพ่อสัมฤทธิ์) มีวัดโพธาราม (ปัจจุบันเป็นวัดร้าง) ซึ่งสร้างในสมัยเดียวกัน อยู่ด้านทิศเหนือ โดยมีลำคลองกั้นระหว่างกลาง วัดไตรภูมิชาวบ้านสมัยก่อน เรียกว่า "วัดใต้" ส่วนวัดโพธาราม เรียกว่า "วัดเหนือ" เมื่อชุมชนพรานกระต่ายเสื่อมลงราวปลายกรุงสุโขทัย วัดไตรภูมิจึงได้กลายเป็นวัดร้างไปด้วย เป็นระยะเวลาประมาณ 300-400 ปี เมื่อชุมชนพรานกระต่ายเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้ง ราวต้นกรุงรัตนโกสินทร์ประมาณ พ.ศ.2380 ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันบูรณะวัดไตรภูมิให้เจริญรุ่งเรืองขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน
16.669106, 99.5915677
เผยแพร่เมื่อ 06-09-2019 ผู้เช้าชม 1,481
ตำนานวัดไตรภูมิ
กาลครั้งหนึ่งในสมัยพระร่วงเจ้าครองเมืองสุโขทัย บริเวณที่เป็นหมู่บ้านพรานกระต่ายปัจจุบันนี้ เป็นป่าใหญ่ มีเมืองกำแพงเพชรหรือเมืองชากังราว ซึงเป็นเมืองลูกหลวงเท่านั้นท่ี่มีผุู้คนอาศัยอยู่หนาแน่น พระร่วมเจ้าจึงได้สร้างถนนจากเมืองสุโขทัยถึงเมืองกำแพงเพชร เพื่อติดต่อกันได้โดยสะดวก ถนนนี้เรียกว่า "ถนนพระร่วง" (อยู่ห่างจากวัดไตรภุูมิไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 1.5 กิโลเมตร) บริเวณป่าใหญ่นี้มีนายพรานคอยดูแลรักษาป่าและ สัตว์ป่าอยู่เป็นประจำ วันหนึ่งพรานป่าได้พบช้างเชือกหนึ่งมีลักษณะงดงามมากผิดกว่าช้างอื่นๆ จึงนำเรื่องนี้เข้ากราบทูลพระร่วงให้ทรงทราบ
16.7217067, 99.2478327
เผยแพร่เมื่อ 13-03-2018 ผู้เช้าชม 2,831
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- 170 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 108 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
สถานะเดิม ชื่อ วีระ นามสกุล ภูมิเมือง เกิด ๒ ฯ๑ ๘ ปีกุน วันที่ ๖ เดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๒ นามบิดา นายทวี ภูมิเมือง นามมารดา นางบาง ภูมิเมือง บ้านเลขท
ในการแต่งกายของชนเผ่ากระเหรี่ยง จะมีทั้งเสื้อกระเหรี่ยงชาย สำหรับผู้ชาย เสื้อกระเหรี่ยงหญิงสาวที่ยังไม่แต่งงานจะเป็นชุดสุ้มหล้อง หรือชุดยาวเป็นเสื้
ลักษณะทั่วไป ต้นเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 12 เมตร เปลือกต้นสีเทาเรือนต้นแผ่กว้าง ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย 5-7 คู่ รูปขนาน ปลายและโคน
บ้านปางมะนาว (โครงการคลองลาน 2) หมู่ 11 ตำบลปางมะค่า ห่างจากศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดกำแพงเพชร 25 กิโลเมตร ประกอบด้วย ชนเผ่าที่มีขนบธรรมเ