งานวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2568--
คณะผู้วิจัย
1. รศ.ดร.แดนชัย เครื่องเงิน หัวหน้าโครงการ
2. อาจารย์พัชรมณฑ์ อ่อนเชด ผู้ร่วมวิจัย
3. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล ผู้ร่วมวิจัย
4. นายณัฐพงษ์ ลำจะเรา ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2568--
คณะผู้วิจัย
1. นายพรหมธร พูลสุข ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ดร.ไตรรงค์ เปลี่ยนแสง ผู้ร่วมวิจัย
3. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
Reduce Smell Instrument Set from Simmering Crab Sauce
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2567--
คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วสุนธรา รตโนภาส ผู้ร่วมวิจัย
2. รศ.ดร.แดนชัย เครื่องเงิน หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ ผู้ร่วมวิจัย
4. ผศ.ดร.นิภัชราพร สภาพพร ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2566--
คณะผู้วิจัย
1. ผศ.ดร.ปาริชาต เตชะ ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ดร.ไตรรงค์ เปลี่ยนแสง หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ดร.เอนก หาลี ผู้ร่วมวิจัย
4. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2564-2565
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์จุฑาทิพย์ โอบอ้อม ผู้ร่วมวิจัย
2. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2563-2564
คณะผู้วิจัย
1. นางมาริตา จิตชู ผู้ร่วมวิจัย
3. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2562-2563
คณะผู้วิจัย
2. นายพรหมธร พูลสุข ผู้ร่วมวิจัย
3. นายศาสตราวุธ กิมิพันธ์ ผู้ร่วมวิจัย
4. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
Competency Development for Innovation and Information Technology in Education Accordance to the Professional Standards of students of Faculty of Education, Kamphaeng phet Rajabhat University
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2560-2561
คณะผู้วิจัย
1. นางมาริตา จิตชู ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ดร.ไตรรงค์ เปลี่ยนแสง ผู้ร่วมวิจัย
3. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล หัวหน้าโครงการ
ปี พ.ศ. 2558-2559
คณะผู้วิจัย
1. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำปูบ้านแม่จะเรา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564 พ.ศ. มีจำนวนสมาชิก 9 คน มีนางทองเครือ มณีวรรณ เป็นประธานกลุ่ม โดยมีโครงสร้างของกลุ่มดังแผนภูมิโครงสร้างกลุ่มนี้ดังรูปที่ 1 ได้มีการรวมกลุ่มผลิตน้ำปูแบบธรรมชาติ โดยกลุ่มกําลังการผลิตปีละ 300-500 กิโลกรัม (ทำเฉพาะช่วงที่มีปูนา) มีรายได้แตละปีประมาณ 50,000 บาท โดยใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่นซึ่งวิธีการผลิตจะใช้วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ผลิตอาหาร กรรมวิธีการผลิต สูตรการผลิต และฉลากอาหารยังไม่ได้มาตรฐานที่จะสามารถนำไปขอเลขสารบบอาหาร (อย.) ได้ ประกอบกับการผลิตยังทำได้ปริมาณน้อยไม่สม่ำเสมอ การบริหารการจัดเก็บยังไม่ดีทำให้เสียโอกาสทางด้านธุรกิจในกรณีที่สินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ จากการสำรวจความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปูของทางกลุ่มฯ พบว่า มีความต้องการที่จะปรับปรุงและพัฒนาในด้านต่างๆหลายประเด็น เช่น 1) ประเด็นการพัฒนาพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ ทางกลุ่มมีความต้องการปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบ คือ ปูนา ให้มีคุณภาพดีขึ้น ไม่มีโลหะหนัก เช่น แคดเมียม ตะกั่ว เป็นต้น สารพิษจำพวก ยาฆ่าหญ้าชนิดพาราควอทเกินมาตรฐาน 2) ประเด็นการพัฒนาพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิต โดยมีปัญหาที่สำคัญในกระบวนการผลิตน้ำปูนาและผลิตภัณฑ์ คือ ในกระบวนการผลิตมีกลิ่นเหม็นมาก ทำให้ต้องไปทำในป่า ทำให้ไม่ได้มาตรฐานส่วนที่เป็นสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่ให้การปนเปื้อนจากสิ่งแวดล้อมซึ่งตามมาตรฐานจะต้องมีโรงเรือนที่ได้มาตรฐานถูกสุขลักษณะ 3) ประเด็นการพัฒนาระบบมาตรฐาน จากการลงพื้นที่สอบถามประเด็นนี้ พบว่าทางกลุ่มฯ มีการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ทางกลุ่มมีผลิภัณฑ์และมีตลาดที่แน่นอนและผลิตภัณฑ์ค่อนข้างมีชื่อเสียงใน อำเภอ จังหวัด และในประเทศ แต่ยังไม่สามารถยกระดับให้ได้มาตรฐาน และขายในช่องทางตลาดที่สูงขึ้นได้ ตลอดจนไม่สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็น ดาว ของ OTOP ได้ จึงต้องขอมาตรฐานเลขสารบบอาหาร (อย.) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและขยายตลาดให้มากขึ้น 4) ประเด็นการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้มีบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามดึงดูดใจ และถูกต้องตามมาตรฐานเลขสารบบอาหารได้ 5) ประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องบดปูเครื่องปั่นเหวี่ยงสกัดน้ำปู ที่มีความปลอดภัยทางอาหาร และสามารถเพิ่มกําลังการผลิตของกลุ่ม โดยให้มีขนาดเครื่อง และกำลังการผลิตเป้าหมายที่ต้องการของกลุ่ม และเครื่องชุดดับกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเคี่ยวน้ำปูไม่ให้เกิดมลพิษทางกลิ่นให้กับชุมชน ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน เป็นลำดับขั้นตอน และสามารถทำได้ในกรอบเวลาของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้ดำเนินงานตามแนวทาง “คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน โดยอาศัยความร่วมมือจากนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ในสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ ทางที่ปรึกษาให้กับผู้ประกอบการ OTOP ของกลุ่มจึงได้ทำการพัฒนาในประเด็นที่ 2 และประเด็นที่ 5 ได้แก่ ประเด็นการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐานโดยร่วมกับทางกลุ่มฯ ที่ดำเนินการออกแบบสถานที่ผลิตน้ำปูและได้ดำเนินการสร้างไปบางส่วน และประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักรเครื่องบดปู และเครื่องปั่นเหวี่ยงสกัดน้ำปู ได้ดำเนิการสร้างเสร็จเรียบร้อยรวมถึงการทดลองใช้งาน ถ่ายทอดเทคโนโลยี และกำลังเก็บข้อมูลการผลิตน้ำปูเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีการผลิตแบบเดิม ซึ่งในการดำเนินงานในปีแรกนั้นผลการดำเนินงานเสร็จเรียบร้อย ส่วนประเด็นการพัฒนาระบบมาตรฐาน การมุงสู่การของรับรองมาตรฐาน อย. ทั้งการสถานที่ผลิตและกระบวนการผลิต การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2567-2567
คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วสุนธรา รตโนภาส ผู้ร่วมวิจัย
2. รศ.ดร.แดนชัย เครื่องเงิน หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ ผู้ร่วมวิจัย
4. ผศ.ดร.นิภัชราพร สภาพพร ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำปูบ้านแม่จะเรา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564 พ.ศ. มีจำนวนสมาชิก 9 คน มีนางทองเครือ มณีวรรณ เป็นประธานกลุ่ม โดยมีโครงสร้างของกลุ่มดังแผนภูมิโครงสร้างกลุ่มนี้ ได้มีการรวมกลุ่มผลิตน้ำปูแบบธรรมชาติ โดยกลุ่มกําลังการผลติเดือนละประมาณ 21-25 กิโลกรัมและรายได้แตละเดือนประมาณ 15,000 บาท และใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่นซึ่งวิธีการผลิตจะใช้วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ผลิตอาหาร กรรมวิธีการผลิต สูตรการผลิต และฉลากอาหารยังไม่ได้มาตรฐานที่จะสามารถนำไปขอเลขสารบบอาหาร (อย.) ได้ ประกอบกับการผลิตยังทำได้ปริมาณน้อยไม่สม่ำเสมอ การบริหารการจัดเก็บยังไม่ดีทำให้เสียโอกาสทางด้านธุรกิจในกรณีที่สินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ จากการสำรวจความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปูของทางกลุ่มฯ พบว่า มีความต้องการที่จะปรับปรุงและพัฒนาในด้านต่างๆ หลายประเด็น เช่น 1) ประเด็นการพัฒนาพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ ทางกลุ่มมีความต้องการปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบ คือ ปูนา ให้มีคุณภาพดีขึ้น ไม่มีโลหะหนัก เช่น แคดเมียม ตะกั่ว เป็นต้น สารพิษจำพวก ยาฆ่าหญ้าชนิดพาราควอทเกินมาตรฐาน 2) ประเด็นการพัฒนาพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิต โดยมีปัญหาที่สำคัญในกระบวนการผลิตน้ำปูนาและผลิตภัณฑ์ คือ ในกระบวนการผลิตมีกลิ่นเหม็นมาก ทำให้ต้องไปทำในป่า ทำให้ไม่ได้มาตรฐานส่วนที่เป็นสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่ให้การปนเปื้อนจากสิ่งแวดล้อมซึ่งตามมาตรฐานจะต้องมีโรงเรือนที่ได้มาตรฐานถูกสุขลักษณะ 3) ประเด็นการพัฒนาระบบมาตรฐาน จากการลงพื้นที่สอบถามประเด็นนี้ พบว่าทางกลุ่มฯ มีการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ทางกลุ่มมีผลิภัณฑ์และมีตลาดที่แน่นอนและผลิตภัณฑ์ค่อนข้างมีชื่อเสียงใน อำเภอ จังหวัด และในประเทศ แต่ยังไม่สามารถยกระดับให้ได้มาตรฐาน และขายในช่องทางตลาดที่สูงขึ้นได้ ตลอดจนไม่สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็น ดาว ของ OTOP ได้ จึงต้องขอมาตรฐานเลขสารบบอาหาร (อย.) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและขยายตลาดให้มากขึ้น 4) ประเด็นการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้มีบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามดึงดูดใจ และถูกต้องตามมาตรฐานเลขสารบบอาหารได้ 5) ประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องบดปูเครื่องปั่นเหวี่ยงสกัดน้ำปู ที่มีความปลอดภัยทางอาหาร และสามารถเพิ่มกําลังการผลิตของกลุม โดยให้มีขนาดเครื่อง และกำลังการผลิตเปาหมายที่ตองการของกลุ่ม และเครื่องชุดดับกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเคี่ยวน้ำปูไม่ให้เกิดมลพิษทางกลิ่นให้กับชุมชน ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน เป็นลำดับขั้นตอน และสามารถทำได้ในกรอบเวลาของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้ดำเนินงานตามแนวทาง “คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน โดยอาศัยความร่วมมือจากนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ในสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ ทางที่ปรึกษาให้กับผู้ประกอบการ OTOP ของกลุ่มจึงได้พิจารณาพัฒนาในประเด็นที่ 2 และประเด็นที่ 5 ได้แก่ ประเด็นการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน และประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักรเครื่องบดปู และเครื่องปั่นเหวี่ยงสกัดน้ำปู ในการดำเนินงานในปีแรก โดยปรึกษาจะจัดอบรมให้ความรู้ และร่วมกันออกแบบสถานที่ผลิตอาหารที่เป็นไปตามมาตรฐานให้กับทางกลุ่มฯ อีกทั้งจะให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการขอมาตรฐาน อย. ทั้ง 6 ด้าน เพื่อเตรียมความพร้อมในกรณีทางกลุ่มสร้างสถานที่ผลิตอาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว และในประเด็นที่ 5 ที่จะพัฒนาและออกแบบเครื่องบดปูที่มีความปลอดภัยทางอาหารและสามารถเพิ่มกําลังการผลิตของกลุมได ทั้งนี้เครื่องบดปูและเหวี่ยงน้ำปูนี้จะต้องมีกำลังการผลิตประมาณ 100 กิโลกรัมต่อวัน (8 ชั่วโมง) ทั้งนี้เพื่อลดการปนเปื้อนโลหะหนักในผลิตภัณฑ์น้ำปูได้ และประเด็นการพัฒนาระบบมาตรฐาน มุงสู่การของรับรองมาตรฐาน อย.หรือ GMP ทั้งการสถานที่ผลิตและกระบวนการผลิต และประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักร ในการพัฒนาชุดดับกลิ่นน้ำปูเพื่อไม่ให้เกิดกลิ่นรบกวนชุมชน ในปีที่ 2 ต่อไป จากการวิจัยพบว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ ได้ประโยชน์จากการใช้เครื่องบดปูและเครื่องปั่นเหวี่ยงน้ำปู ด้านคุณภาพ คือ สี กลิ่น และรสชาติของผลิตภัณฑ์น้ำปูเหมือนเดิมมีความละเอียดของการบดคงเดิม แต่ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีมาตรฐานการผลิต เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต ถูกสุขลักษณะ ทำให้ไม่พบสารปนเปื้อน จากการผลิต โดยวิธีการใช้งานเข้าใจง่าย ระบบไฟฟ้ามีมาตรฐาน มีความปลอดภัย เวลาใช้งาน และวิธีการใช้เครื่องทำให้ สุขภาพของผู้ใช้ เป็นการยืนใช้เครื่อง ไม่ก้มๆ เงยๆ ส่วนด้านปริมาณ พบว่า การใช้เครื่องบดปูจะมีปริมาณของปูที่บดคงเดิม และการใช้เครื่องเหวี่ยงจะมีปริมาณของน้ำปู เพิ่มมากขึ้นประมาณร้อยละ 20-30 และประโยชน์จากการสร้างสถานที่ผลิตน้ำปูให้ได้มาตรฐานการผลิตทางกลุ่มวิสาหกิจได้โครงสร้างสถานที่ผลิตน้ำปูที่แข็งแรง สวยงาม และได้มาตรฐานการผลิตเพื่อทำการต่อยอดในการขอการรับรองมาตรฐานการผลิตในปีถัดไป
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2566-2566
คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วสุนธรา รตโนภาส ผู้ร่วมวิจัย
2. รศ.ดร.แดนชัย เครื่องเงิน หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ดร.นิภัชราพร สภาพพร ผู้ร่วมวิจัย
4. อาจารย์พัชรมณฑ์ อ่อนเชด ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2564-2565
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์ดร.ยุทธนา พันธ์มี ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ดร.ปราณี เลิศแก้ว ผู้ร่วมวิจัย
3. อาจารย์กษมา สุรเดชา ผู้ร่วมวิจัย
4. ผศ.ดร.เลเกีย เขียวดี ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
AbstractEN
บทคัดย่อ
AbstrachTH
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
AbstractEN
ปี พ.ศ. 2564-2564
คณะผู้วิจัย
1. นางมาริตา จิตชู ผู้ร่วมวิจัย
2. นายฐิตินนท์ โชติฐิตินนท์กุล หัวหน้าโครงการ