ว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ มณีธรรม
ว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ มณีธรรม

ว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ มณีธรรม

งานวิจัย
ลำดับที่ 1. ปี พ.ศ. 2562 ผู้ร่วมวิจัย
เทคนิคการประมวลภาพสีของเนบิวลาอินทรีด้วยโปรแกรม MaxIm DL 6 เพื่อกำหนดเป็นค่ามาตรฐานภาพสีเนบิวลา. (2561)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
Color image processing techniques of eagle nebula by means MaxIm DL 6 program to configure a standard nebula image

บทคัดย่อ
ในช่วงเวลาทุกค่ำคืนมนุษย์เราจะมองเห็นแสงระยิบระยับอยู่บนท้องฟ้า ซึ่งแหล่งกำเนิดของแสงนั้นไม่ได้มาจากสิ่งอื่นใด แต่มาจากดวงดาว กระจุกดาว กาแล็กซี่ และเนบิวลา ถ้าหากว่ามองด้วยตาเปล่าก็จะเห็นเป็นแค่แสงดาวจุดเล็กๆ และต่อให้ดูผ่านกล้องโทรทรรศน์ก็ตาม แต่ถ้านำซีซีดี (CCD : Charge-Coupled Device) มาต่อเข้ากับกล้องโทรทรรศน์ แล้วถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้าผ่านฟิลเตอร์ (Filter) ด้วยเวลาการเปิดหน้ากล้องที่เหมาะสม จากนั้นนำมาทำการประมวลภาพสีก็จะได้ภาพทางดาราศาสตร์ที่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจน

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2561-2562

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วิจิตร ฤทธิธรรม หัวหน้าโครงการ
3. ว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ มณีธรรม ผู้ร่วมวิจัย

ลำดับที่ 2. ปี พ.ศ. 2562 ผู้ร่วมวิจัย
ดาวแปรแสงดวงใหม่ที่อยู่ใกล้ดาว CE Leo. (2561)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
A new variable star near CE Leo

บทคัดย่อ
การแปรแสงจากปัจจัยภายใน การแปรแสงของดาวแปรแสงประเภทนี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพภายในตัวของดาวเอง ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ดาวแปรแสงแบบยุบขยาย และดาวแปรแสงแบบประทุหรือแบบเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง การแปรแสงจากปัจจัยภายนอก การแปรแสงของดาวแปรแสงประเภทนี้เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของดาว ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ ดาวคู่อุปราคา และดาวแปรแสงแบบหมุน

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2561-2562

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วิจิตร ฤทธิธรรม หัวหน้าโครงการ
3. ว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ มณีธรรม ผู้ร่วมวิจัย

ที่มา : สถาบันวิจัยและพัฒนา

ว่าที่ร้อยตรีนิพนธ์ มณีธรรม
โพสต์

บุคลากร