งานวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2567--
คณะผู้วิจัย
1. ผศ.ดร.ฆัมภิชา ตันติสันติสม หัวหน้าโครงการ
2. รศ.ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2564-2565
คณะผู้วิจัย
1. นายณัฐเวศม์ ชัยมงคล ผู้ร่วมวิจัย
2. นางวรรณภา สุวรรณพงษ์ หัวหน้าโครงการ
3. รศ.ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
The development of TV show to Increase the Thai’s elder standard of living
บทคัดย่อ
สื่อมวลชนในสังคมไทย มีวงจรวิวัฒนาการของสื่อมวลชนอยู่เสมอ นักวิชาการด้านการสื่อสารมวลชน ได้พยายามตั้งคำถามเกี่ยวกับสื่อที่หลากหลายมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมที่มีผลต่อยอดไปถึงชีวิตประจำวันถือเป็นสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นซึ่งชี้ให้เห็นถึงศักยภาพพลังอำนาจของสื่อที่มีผลต่อปรากฏการณ์ดังกล่าวที่เกิดขึ้นในสังคม รวมถึงความสัมพันธ์ที่สื่อทำให้เกิดรูปแบบขึ้นในสังคมความเจริญก้าวหน้าของการสื่อสารในปัจจุบันส่งผลให้มีสื่อ และวิธีการส่งข่าวสารไปสู่ประชาชนเพิ่มขึ้นหลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุสื่อสาร โทรสาร วิดีทัศน์ คอมพิวเตอร์ สื่อโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม เป็นต้น
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2561-2562
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์ดร.พธูรำไพ ประภัสสร หัวหน้าโครงการ
2. รศ.ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2559-2560
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์พัตราภรณ์ อารีเอื้อ ผู้ร่วมวิจัย
2. อาจารย์ดร.พธูรำไพ ประภัสสร หัวหน้าโครงการ
3. รศ.ดร.ปาจรีย์ ผลประเสริฐ ผู้ร่วมวิจัย
4. อาจารย์ชลธิชา แสงงาม ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2559-2560
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์ดร.พธูรำไพ ประภัสสร ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.การันต์ เจริญสุวรรณ ผู้ร่วมวิจัย
3. อาจารย์สุภาภรณ์ หมั่นหา ผู้ร่วมวิจัย
4. อาจารย์ดร.ยุชิตา กันหามิ่ง หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2559-2560
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์ดร.ยุชิตา กันหามิ่ง ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ดร.วนัสนันท์ ศิริรัตนะ ผู้ร่วมวิจัย
3. รศ.ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2565-2566
คณะผู้วิจัย
1. รศ.ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี หัวหน้าโครงการ
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-
บทคัดย่อ
-
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-
ปี พ.ศ. 2563-2564
คณะผู้วิจัย
1. ผศ.พัจนภา เพชรรัตน์ ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ดร.กรรณิกา อุสสาสาร หัวหน้าโครงการ
3. อาจารย์อรัญญารัตน์ ศรีสุพัฒนะกุล ผู้ร่วมวิจัย
4. นายจิรพงษ์ เทียนแขก ผู้ร่วมวิจัย
บทคัดย่อ
รัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศใน ระยะยาวเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งหนึ่งในประเด็นเร่งด่วน ๕ ปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ คือ สังคมสูงวัย หนึ่งในความต้องการ 6 ด้านของผู้สูงอายุ คือ ความต้องการด้านสังคม คือ ความต้องการได้รับการ ยอมรับจากครอบครัวและสมาชิกของกลุ่มต่างๆ ทางสังคม เนื่องจากจะทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกว่าตัวเองยังคงมีความสำคัญและเป็นที่ต้องการของครอบครัว ถ้าผู้สูงอายุได้มีการพบปะสังสรรค์กับคนในวัยเดียวกันจะทำให้ผู้สูงอายุมีการเรียนรู้ มีการดูแลตัวเอง และมีความสามารถในการใช้ชีวิตด้วยตนเองได้ดีขึ้น (Lertchanyarak, Oranuj, 2010, pp. 5) ซึ่งจังหวัดกำแพงเพชรเองก็ได้ตระหนักถึงปัญหาและความต้องการทางด้านสังคมของผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน การละเล่นพื้นบ้าน เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่บรรพบุรุษไทยได้สั่งสม สร้างสรรค์ และสืบทอดไว้เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติเพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และรักในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนงนี้ นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดการรวมกลุ่มการทำกิจกรรมที่มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสร้างความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น ซึ่งในจังหวัดกำแพงเพชรก็มีการละเล่นพื้นบ้านที่เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง อาทิ ระบำก.ไก่ รำคล้องช้าง และรำวงพื้นบ้าน เป็นต้น ซี่งมีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาให้เกิดเป็นนวัตกรรมการละเล่นพื้นบ้านสำหรับผู้สูงอายุ ที่จะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และเสริมสร้างให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุผ่านการละเล่นพื้นบ้านด้วยเช่นกัน จากความเป็นมาและความสำคัญข้างต้นจึงเกิดเป็นคำถามการวิจัยครั้งนี้ก็คือนวัตกรรมในการช่วยเหลือการดำรงชีวิต (Assisted Living) ที่ช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเป็นอย่างไร อันจะนำไปสู่การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการดำรงชีวิตได้อย่างมีศักยภาพสูงสุดสืบไป
ปี พ.ศ. 2564-2565
คณะผู้วิจัย
1. อาจารย์ดร.พิมพ์นารา บรรจง ผู้ร่วมวิจัย
2. รศ.ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี หัวหน้าโครงการ
3. อาจารย์ธนัฐธนสร ชัยรักษ์นิธิภัทร ผู้ร่วมวิจัย