ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่
ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่

ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่

งานวิจัย
ลำดับที่ 1. ปี พ.ศ. - ผู้ร่วมวิจัย
ชุดปฏิบัติการลดกลิ่นเหม็นจากการเคี่ยวน้ำปู. (2567)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
Reduce Smell Instrument Set from Simmering Crab Sauce

บทคัดย่อ
-

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2567--

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วสุนธรา รตโนภาส ผู้ร่วมวิจัย
2. รศ.ดร.แดนชัย เครื่องเงิน หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ ผู้ร่วมวิจัย
4. อาจารย์ดร.นิภัชราพร สภาพพร ผู้ร่วมวิจัย

ลำดับที่ 2. ปี พ.ศ. 2565 หัวหน้าโครงการ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวหอมมะลิ และข้าวเหนียว. (2564)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
Development product from Riceberry Jasmine rice and Glutinous rice

บทคัดย่อ
-

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2564-2565

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ หัวหน้าโครงการ

ลำดับที่ 3. ปี พ.ศ. 2559 ผู้ร่วมวิจัย
การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ติดตามตรวจสอบ ความหลากหลายและสารสาคัญของพืชสมุนไพร : กรณีศึกษาเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าเขาสนามเพรียง อำเภอโกสัมพี จังหวัดกำแพงเพชร. (2558)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
(The Application of Geographic Information System Diversity Medicinal Plants Assessment Khaosanamprieng Wildlife Sanctuary Kosamphi Nakhon Sub-district Kamphaengphet Province)

บทคัดย่อ
-

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2558-2559

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วิไลลักษณ์ สวนมะลิ หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ ผู้ร่วมวิจัย
4. ผศ.สุรินทร์ เพชรไทย ผู้ร่วมวิจัย

ลำดับที่ 4. ปี พ.ศ. 2561 หัวหน้าโครงการ
การวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพในพืชสมุนไพร. (2560)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-

บทคัดย่อ
-

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2560-2561

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ หัวหน้าโครงการ

ลำดับที่ 5. ปี พ.ศ. 2559 หัวหน้าโครงการ
ประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระและอินนูลีนในพืชที่เลือก. (2558)

ปี พ.ศ. 2558-2559

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วิไลลักษณ์ สวนมะลิ ผู้ร่วมวิจัย
2. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ หัวหน้าโครงการ

ลำดับที่ 4. ปี พ.ศ. 2567 ผู้ร่วมวิจัย
การยกระดับผลิตภัณฑ์น้ำปูแม่จะเรา ให้ได้มาตรฐานการผลิต2. (2567)

ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
-

บทคัดย่อ
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำปูบ้านแม่จะเรา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2564 พ.ศ. มีจำนวนสมาชิก 9 คน มีนางทองเครือ มณีวรรณ เป็นประธานกลุ่ม โดยมีโครงสร้างของกลุ่มดังแผนภูมิโครงสร้างกลุ่มนี้ดังรูปที่ 1 ได้มีการรวมกลุ่มผลิตน้ำปูแบบธรรมชาติ โดยกลุ่มกําลังการผลิตปีละ 300-500 กิโลกรัม (ทำเฉพาะช่วงที่มีปูนา) มีรายได้แตละปีประมาณ 50,000 บาท โดยใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่นซึ่งวิธีการผลิตจะใช้วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ผลิตอาหาร กรรมวิธีการผลิต สูตรการผลิต และฉลากอาหารยังไม่ได้มาตรฐานที่จะสามารถนำไปขอเลขสารบบอาหาร (อย.) ได้ ประกอบกับการผลิตยังทำได้ปริมาณน้อยไม่สม่ำเสมอ การบริหารการจัดเก็บยังไม่ดีทำให้เสียโอกาสทางด้านธุรกิจในกรณีที่สินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ จากการสำรวจความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำปูของทางกลุ่มฯ พบว่า มีความต้องการที่จะปรับปรุงและพัฒนาในด้านต่างๆหลายประเด็น เช่น 1) ประเด็นการพัฒนาพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ ทางกลุ่มมีความต้องการปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบ คือ ปูนา ให้มีคุณภาพดีขึ้น ไม่มีโลหะหนัก เช่น แคดเมียม ตะกั่ว เป็นต้น สารพิษจำพวก ยาฆ่าหญ้าชนิดพาราควอทเกินมาตรฐาน 2) ประเด็นการพัฒนาพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิต โดยมีปัญหาที่สำคัญในกระบวนการผลิตน้ำปูนาและผลิตภัณฑ์ คือ ในกระบวนการผลิตมีกลิ่นเหม็นมาก ทำให้ต้องไปทำในป่า ทำให้ไม่ได้มาตรฐานส่วนที่เป็นสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่ให้การปนเปื้อนจากสิ่งแวดล้อมซึ่งตามมาตรฐานจะต้องมีโรงเรือนที่ได้มาตรฐานถูกสุขลักษณะ 3) ประเด็นการพัฒนาระบบมาตรฐาน จากการลงพื้นที่สอบถามประเด็นนี้ พบว่าทางกลุ่มฯ มีการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ทางกลุ่มมีผลิภัณฑ์และมีตลาดที่แน่นอนและผลิตภัณฑ์ค่อนข้างมีชื่อเสียงใน อำเภอ จังหวัด และในประเทศ แต่ยังไม่สามารถยกระดับให้ได้มาตรฐาน และขายในช่องทางตลาดที่สูงขึ้นได้ ตลอดจนไม่สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็น ดาว ของ OTOP ได้ จึงต้องขอมาตรฐานเลขสารบบอาหาร (อย.) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและขยายตลาดให้มากขึ้น 4) ประเด็นการพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้มีบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามดึงดูดใจ และถูกต้องตามมาตรฐานเลขสารบบอาหารได้ 5) ประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องบดปูเครื่องปั่นเหวี่ยงสกัดน้ำปู ที่มีความปลอดภัยทางอาหาร และสามารถเพิ่มกําลังการผลิตของกลุ่ม โดยให้มีขนาดเครื่อง และกำลังการผลิตเป้าหมายที่ต้องการของกลุ่ม และเครื่องชุดดับกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเคี่ยวน้ำปูไม่ให้เกิดมลพิษทางกลิ่นให้กับชุมชน ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาแบบยั่งยืน เป็นลำดับขั้นตอน และสามารถทำได้ในกรอบเวลาของสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้ดำเนินงานตามแนวทาง “คูปองวิทย์เพื่อโอทอป” ภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน โดยอาศัยความร่วมมือจากนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ในสถาบันการศึกษาทั่วประเทศ ทางที่ปรึกษาให้กับผู้ประกอบการ OTOP ของกลุ่มจึงได้ทำการพัฒนาในประเด็นที่ 2 และประเด็นที่ 5 ได้แก่ ประเด็นการพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐานโดยร่วมกับทางกลุ่มฯ ที่ดำเนินการออกแบบสถานที่ผลิตน้ำปูและได้ดำเนินการสร้างไปบางส่วน และประเด็นการพัฒนาและออกแบบเครื่องจักรเครื่องบดปู และเครื่องปั่นเหวี่ยงสกัดน้ำปู ได้ดำเนิการสร้างเสร็จเรียบร้อยรวมถึงการทดลองใช้งาน ถ่ายทอดเทคโนโลยี และกำลังเก็บข้อมูลการผลิตน้ำปูเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีการผลิตแบบเดิม ซึ่งในการดำเนินงานในปีแรกนั้นผลการดำเนินงานเสร็จเรียบร้อย ส่วนประเด็นการพัฒนาระบบมาตรฐาน การมุงสู่การของรับรองมาตรฐาน อย. ทั้งการสถานที่ผลิตและกระบวนการผลิต การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
-

ปี พ.ศ. 2567-2567

คณะผู้วิจัย
1. ผศ.วสุนธรา รตโนภาส ผู้ร่วมวิจัย
2. รศ.ดร.แดนชัย เครื่องเงิน หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ภาเกล้า ภูมิใหญ่ ผู้ร่วมวิจัย
4. อาจารย์ดร.นิภัชราพร สภาพพร ผู้ร่วมวิจัย

ที่มา : สถาบันวิจัยและพัฒนา

อาจารย์ดร.นิภัชราพร สภาพพร
โพสต์

บุคลากร