Kamphaeng Phet Rajabhat University

เขตข้อมูล รายการ
ฐานข้อมูล

บทความ/Article

เลขทะเบียน

20231026101259

ชื่อเรื่อง

การสื่อสารในภาวะวิกฤต: กรณีศึกษาเหตุการณ์กราดยิงที่นครราชสีมา

ชื่อเรื่องรอง

A CRISIS COMMUNICATION PROCESS: A CASE STUDY ON NAKHON RATCHASIMA SHOOTING

ผู้แต่ง

ตรัยรัตน์ ปลื้มปิติชัยกุล

วรางคณา นิยมฤทธิ์

ปี

2562

หัวเรื่อง

การสื่อสาร

สื่อมวลชน

ความรุนแรง

สถานที่พิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

รายละเอียด

เหตุการณ์กราดยิงที่จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีผู้สูญเสียและบาดเจ็บเป็นจ านวนมากน ามาซึ่งวิกฤต
ในเรื่องความปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิตของผู้คนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอารมณ์
ความรู้สึกที่หวาดหวั่นต่อสถานการณ์ความรุนแรง ในแง่นี้จะพบว่าสื่อมวลชนได้เข้ามามีบทบาทส าคัญในเรื่อง
ของการแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เนื่องจากปัจจุบันสื่อมีความรวดเร็วและมีการน าเสนอข้อมูลข่าวสาร
แบบทันท่วงทีตามเหตุการณ์ ด้วยเหตุนี้พลังของสื่อมวลชนยังได้ส่งผลกระทบให้เกิดการตื่นตัวในการคิดค้น
วิธีการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ที่ตกอยู่ในภาวะวิกฤต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมิติทางด้านการสื่อสาร ซึ่งจะเห็นได้
ค่อนข้างชัดเจนว่าในปฏิบัติการประเด็นทางด้านการสื่อสารในภาวะวิกฤตถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีความส าคัญและ
จ าเป็นอย่างยิ่งต่อการจัดการข้อมูลข่าวสารและการบริหารทิศทางของการวางแผนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด

ไฟล์เอกสาร ที่ 1

A67-12.pdf