Kamphaeng Phet Rajabhat University

เขตข้อมูล รายการ
ฐานข้อมูล

งานวิจัย/Research report

เลขทะเบียน

20190906091014

ชื่อเรื่อง

การผลิตไซรัปกล้วยไข่โดยกระบวนการหมัก

ชื่อเรื่องรอง

Production banana (Kluai Khai; Musa (AA group)) syrup by fermentation

ผู้แต่ง

สุวิชญา บัวชาติ

ปี

2561

หัวเรื่อง

ไซรัป

กล้วยไข่

การสำรวจผู้บริโภค

พฤติกรรมผู้บริโภค

การหมัก

สถานที่พิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

รายละเอียด

การศึกษาคุณภาพของไซรัปที่ได้จากการหมักกล้วยไข่กับน้าตาลสีขาวในอัตราส่วน 2:1, 3:1 และ 4:1 กรัมต่อกรัม เป็นเวลา 5, 10 และ 15 วัน พบว่าไซรัปมีปริมาณน้าตาลรีดิวซ์อยู่ระหว่าง 299.21-582.31 กรัมต่อลิตร ของแข็งที่ละลายน้าได้ 73.3-96.4 องศาบริกซ์ และค่าความเป็นกรดด่าง 3.67-4.37 จากการทดสอบความพึงพอใจของผู้ทดสอบชิมจานวน 30 คน ที่มีต่อไซรัปทั้ง 9 สูตร พบว่าไซรัปกล้วยไข่ที่หมักกล้วยไข่ด้วยน้าตาลทรายในอัตราส่วน 2:1 เป็นเวลา 5 วัน ได้คะแนนความพึงพอใจสูงสุดในลักษณะด้านสี ความใส ความหนืด กลิ่น และรสชาติ ซึ่งมีคะแนนด้านรสชาติสูงกว่าสูตรอื่นอย่างมีนัยสาคัญ (p ≤ 0.05) ประกอบด้วย น้าตาลกลูโคส ฟรุตโตส ซูโครส โปรตีน ไขมัน พลังงานทั้งหมด และพลังงานทั้งหมดจากไขมัน เท่ากับ 14.45 กรัมต่อ 100 กรัม 14.40 กรัมต่อ 100กรัม 33.02 กรัมต่อ 100 กรัม ร้อยละ 0.36, ร้อยละ 0.00, 289.64 กิโลแคลอรีต่อ 100 กรัม และ 0.00 กิโลแคลอรีต่อ 100 กรัม ตามลาดับ

ไฟล์เอกสาร ที่ 1

01.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 2

02.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 3

03.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 4

04.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 5

05.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 6

06.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 7

07.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 8

08.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 9

09.pdf