Kamphaeng Phet Rajabhat University

เขตข้อมูล รายการ
ฐานข้อมูล

งานวิจัย/Research report

เลขทะเบียน

20190830125748

ชื่อเรื่อง

การจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่าย ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา : ตำบลนาบ่อคา อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร

ชื่อเรื่องรอง

Sufficiency Economy-based Household Bookkeeping for Spending Discipline Forming: A Case Study of Nabokam Sub-district , Muang District, Kampaengphet Province

ผู้แต่ง

ทิพย์วรรณ ศิบุญนันท์

อนุ ธัชยะพงษ

อิสรีย์ ด่อนคร้าม

นงลักษณ์ จิ๋วจู

อนันธิตรา ดอนบันเทา

ปี

2555

หัวเรื่อง

เศรษฐกิจพอเพียง

พฤติกรรมการใช้จ่าย

บัญชีครัวเรือน

สถานที่พิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

รายละเอียด

การศึกษาการจัดทาบัญชีครัวเรือนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่าย ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา : ตาบลนาบ่อคา อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจาวัน ส่งเสริมให้ประชาชนมีการจัดทาบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง ให้ประชาชนสามารถวิเคราะห์รายรับ-รายจ่ายของตนเอง และให้ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่าย โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตาบลนาบ่อคา อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร ที่เข้าอบรมโครงการจัดทาบัญชีครัวเรือน เพื่อเสริมสร้างภูมิปัญญาทางบัญชีตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีการจัดทาบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง จานวน 74 ครัวเรือน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มที่ทาบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง สามารถวิเคราะห์รายรับและรายจ่ายในครัวเรือนได้ คิดเป็นร้อยละ 100 จากการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมด้านการบันทึกบัญชีครัวเรือน พบว่าหลังจากการอบรมการจัดทาบัญชีครัวเรือนประชาชนมีพฤติกรรมการใช้จ่ายเงินที่ลดลงจากเดิม คิดเป็นร้อยละ 60.39 โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้จ่ายเงินคือ มีการวางแผนก่อนการใช้จ่ายเงินเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 98.26 รองลงมาคือ ตัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นออกไป คิดเป็นร้อยละ 86.28 และบันทึกรายรับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 70.75 ตามลาดับ ด้านพฤติกรรมการใช้จ่ายของกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปรียบเทียบรายจ่ายเป็นรายเดือนจานวน 3 เดือน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้จ่ายเงินของประชาชนในแต่ละเดือนโดยรวม พบว่ารายจ่ายรวมของประชาชนเดือนที่ 2 ลดลงจากเดือนที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 22.07 และเดือนที่ 3 ลดลงจากเดือนที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 40.62 ตามลาดับ ด้านปัจจัยและผลกระทบในการจัดทาบัญชีครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างมีแรงจูงใจหรือเหตุผลในการจัดทาบัญชีครัวเรือนคือต้องการรู้ถึงรายรับและรายจ่ายที่แท้จริงของตนเองและครอบครัว แต่ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทาบัญชีครัวเรือนของกลุ่มตัวอย่างคือการลืมบันทึกบัญชี หรือจารายจ่ายที่จ่ายไปได้ไม่หมด ซึ่งกลุ่มตัวอย่างก็ได้เสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยการจดบันทึกรายการจ่ายทุกครั้งเอาไว้ก่อน เพื่อป้องกันการลืมบันทึกรายการ นอกจากนี้ในการจัดทาบัญชีครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างมีการนาแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิตคือ จะการตัดสินใจก่อนการใช้จ่ายเงินอย่างมีเหตุผล มีการวางแผนก่อนเพื่อให้การใช้จ่ายเงินเป็นไปอย่างคุ้มค่า ส่วนประโยชน์ที่ได้รับจากการทาบัญชีครัวเรือนพบว่า ทาให้สมาชิกในครอบครัวรู้ถึงรายรับ และรายจ่ายที่แท้จริง แต่อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างยังได้เสนอแนะว่า ควรมีการกระตุ้น หรือติดตามการบันทึกบัญชีครัวเรือนบ่อย ๆ เพื่อที่จะได้บันทึกเป็นประจาตลอดเวลา

ไฟล์เอกสาร ที่ 1

01.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 2

02.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 3

03.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 4

04.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 5

05.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 6

06.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 7

07.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 8

08.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 9

09.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 10

10.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 11

11.pdf