Kamphaeng Phet Rajabhat University

เขตข้อมูล รายการ
ฐานข้อมูล

งานวิจัย/Research report

เลขทะเบียน

20191212103106

ชื่อเรื่อง

การพัฒนาเครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติโดยใช้ PLC ควบคุม

ผู้แต่ง

วิรัช หม้อตาหล้า

สมโภชน์ วงษ์เขียด

ภากรณ์ สุพัฒน์

ปี

2552

หัวเรื่อง

เครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ

สถานที่พิมพ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

รายละเอียด

ปัจจุบันมนุษย์เลี้ยงสุนัขกันมากขึ้น และสุนัขนั้นก็มีหลายสายพันธุ์ต่าง ๆ และแต่ละพันธุ์มีนิสัยที่แตกต่างกัน และมีหน้าที่ที่แตกต่างกัน เช่น เลี้ยงเพื่อความสวยงาม เลี้ยงเพื่อเฝ้าบ้าน และยังเป็นสุนัขตารวจได้อีกด้วย และสุนัขยังเป็นเพื่อนที่ดีของมนุษย์อีกด้วย แต่ในการเลี้ยงดูสุนัขนั้นผู้เลี้ยงไม่มีเวลาในการดูแลสุนัขของตัวเอง เนื่องจากต้องออกไปทางานนอกบ้านในตอนกลางวัน ผู้เลียงจึงมีเวลาในการดูแลสุนัขน้อยมาก โดยเฉพาะการให้อาหารนั้นเป็นสิ่งที่ต้องทาทุกวัน คณะผู้จัดทาจึงได้คิดหาอุปกรณ์ที่ช่วยให้ผู้เลี้ยงสุนัขสามารถให้อาหารสุนัขได้โดยอัตโนมัติโดยที่ผู้เลี้ยงไม่ต้องเป็นห่วง เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระในการให้อาหารสุนัขอีกประการหนึ่ง วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้าในการศึกษาเครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ ได้เริ่มจากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เมื่อทาการศึกษาอย่างเข้าใจแล้วจึงได้เสนองานค้นคว้าพิเศษ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาถึงความเหมาะสมในหัวข้อที่ได้ทาการศึกษาค้นคว้า และทาการศึกษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะนามาประกอบเป็นเครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติ แล้วทาโครงสร้างของเครื่องหลังจากนั้นนามาประกอบเข้าด้วยกันและทาการทดลองประสิทธิภาพของเครื่องที่ทาการประกอบเสร็จแล้ว ในการศึกษาค้นคว้าการพัฒนาเครื่องให้อาหารสุนัขอัตโนมัติโดยการใช้ PLC ไปควบคุมการทาวานของเครื่อง เพื่อแก้ปัญหาให้กับผู้เลี้ยงสุนัขในการให้อาหาร ในเวลาที่ผู้เลียงไม่สามารถที่จะให้อาหารได้ โดยวิธีการทางานของเครื่องให้อาหารสุนัขสามารถเข้าใจง่ายในเรื่องของการทางานและวิธีการใช้งานของเครื่อง โดยที่ผู้เลี้ยงทาการตั้งเวลาที่จะให้อาหาร โดยสามารถให้อาหารได้สูงสุด 6 ครั้งต่อ 1 วัน โดยสามารถเลือกอาหารได้ 3 ระดับ ตามขนาดสุนัขของผู้เลี้ยง คือ สุนัขขนาดเล็ก สุนัขขนากดกลาง และสุนัขขนาดใหญ่ และยังสามารถบันทึกเสียงเพื่อเรียกสุนัขของผู้เลียงมากินอาหารได้โดยอัตโนมัติเมื่อเครื่องให้อาหารสุนัขทางาน โดยที่ผู้ศึกษาได้นาเทคโนโลยีทางไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์เข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ไฟล์เอกสาร ที่ 1

tpg.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 2

abs.pdf

ไฟล์เอกสาร ที่ 3

ch1-5.pdf