ตำนานพระร่วงเล่นว่าว

ตำนานพระร่วงเล่นว่าว

บนเส้นทางถนนพระร่วง มีเรื่องเล่าขานมากมายชาวบ้านได้เล่าถึง พระร่วงซึ่งเป็นผู้มีอิทธิฤทธิ์ มีวาจาสิทธิ์ได้ทรงสร้างถนนสายนี้ว่า พระร่วงได้ใช้เท้าเกลี่ยดินเพียงสามครั้งก็ได้ถนนสายนี้ขึ้นมา พระร่วงเป็นกษัตริย์ที่ทรงโปรดการเล่นว่าวมาก ตลอดเส้นทางถนนสายนี้ ชาวบ้านได้เล่าถึงการเล่นว่าวของพระร่วงคล้าย ๆ กันหลายหมู่บ้าน จะต่างกันสถานที่เล่นว่าวเท่านั้น  จะขอยกตัวอย่างที่อำเภอพรานกระต่ายดังนี้  ในช่วงที่พระร่วงได้ตรองราชย์อยู่ที่กรุงสุโขทัย วันหนึ่งพระองค์คิดถึงนางทองซึ่งเป็นพระมเหสีอยู่ที่เมืองพาน จึงเสด็จมาหา ซึ่งขณะนั้นพระมเหสีทองได้ตั้งครรภ์อ่อน ๆ อยากเสวยมะดัน (ผลไม้ชนิดหนึ่ง) พระร่วงจึงเสด็จ

16.7217067, 99.2478327

เผยแพร่เมื่อ 13-03-2018 ผู้เช้าชม 1,682


ชากังราวว่าวไทย

ชากังราวว่าวไทย

เทศบาลเมืองกำแพงเพชรจัดงาน "ชากังราวว่าวไทย" เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมการเล่นว่าว ในประเทศไทยขึ้นเป็นประจำทุกปี ณ บริเวณลานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย สิริจิตอุทยาน ภายในงานมีกิจกรรมดังนี้ การประกวดว่าวไทย ในระดับเยาวชนและประชาชนทั่วไป การประกวดปลากัดและปลาสวยงาม เพื่อส่งเสริมกิจกรรม ยามว่างของเยาวชนและประชาชนทั่วไป ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมอีกด้วย

16.5080636, 99.5160231

เผยแพร่เมื่อ 20-02-2017 ผู้เช้าชม 1,439


 

Google search

Mic

ประวัติอำเภอบึงสามัคคี

ประวัติอำเภอบึงสามัคคี

ดินดำน้ำดี สามัคคีทั่วเขต การเกษตรก้าวหน้า ชาวประชาร่วมใจ  เดิมเมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๖๐ เป็นท้องที่ตำบลระหานขึ้นการปกครองกับ  อำเภอคลองขลุง จ

ดอยห้วยทู่

ดอยห้วยทู่

ดอยห้วยทู่ เป็นยอดดอยที่เพิ่งเปิดให้ท่องเที่ยวได้ไม่นาน จึงยังคงมีความเป็นธรรมชาติอยู่มาก และด้วยความสูงราว ๆ 1,200-1300 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลา

ขันทองพยาบาท

ขันทองพยาบาท

ขันทองพยาบาทเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 7-13 เมตร กิ่งก้านกลม มีสีเทา เปลือกมีสีน้ำตาลแก่ ผิวบางและเรียบ เนื้อไม้ข้างในมีสีขาว ใบเป็นใบเดี่ยวแบบเรียง

พระสมเด็จเนื้อดิน

พระสมเด็จเนื้อดิน

พระอธิการกลึง วัดคูยาง กำแพงเพชร ได้รวบรวม พระเครื่องของกรุกำแพงเพชรที่แตกหัก ที่ได้ค้นพบจากการรื้อสร้างบูรณะพระเจดีย์ทั้