วัดพานิชย์นิรมล

วัดพานิชย์นิรมล

วัดพานิชย์นิรมล ตั้งอยู่เลขที่ 3 บ้านอุ้มผาง หมู่ที่ 1 ตำบลอุ้มผาง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 3 ไร่ 86 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศใต้ติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันออกติดต่อกับทางสาธารณะ ทิศตะวันตกติดต่อกับทางสาธารณะ โดยมี น.ส. 3 ก เลขที่ 548 เป็นหลักฐาน

16.0178571, 98.8604167

เผยแพร่เมื่อ 14-11-2023 ผู้เช้าชม 564


วัดหนองหลวง

วัดหนองหลวง

วัดหนองหลวง ตั้งอยู่ที่บ้านหนองหลวง หมู่ที่ 1 ตำบลหนองหลวง อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก เป็นวัดที่ชนชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงได้ร่วมแรงร่วมใจสร้างวัดนี้ขึ้นมาเดิมเรียกว่า "วัดนุผาโด้" แปลว่า หนองใหญ่ พื้นที่ตั้งวัดมีลักษณะเป็นเนินเขาเชิงราดสูง วัดนี้สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2477 ตั้งมาพร้อมกับหมู่บ้านหนองหลวง ซึ่งเป็นหมู่บ้านของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ต่อมาเมื่อมีคนไทยจากจังหวัดลำพูน - แพร่ - ตาก ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานมากขึ้น ทำให้ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงซึ่งเป็นเผ่าที่ไม่ชอบสุงสิงกันใคร จึงได้ย้ายไปที่อื่น

15.5285534, 100.4762101

เผยแพร่เมื่อ 27-01-2021 ผู้เช้าชม 963


วัดอุ้มผาง

วัดอุ้มผาง

คำว่า "อุ้มผาง" เพี้ยนมาจากคำว่า "อุ้มผะ" ในภาษากะเหรี่ยง หมายความว่า "กระบอกไม้ไผ่" เดิมราว พ.ศ. 2432 นั้นอุ้มผางขึ้นอยู่กับจังหวัดอุทัยธานี โดยกำหนดให้เป็นเมืองหน้าด่านทางชายแดนทางด้านทิศตะวันตก เป็นจุดตรวจตราชาวพม่าที่เดินทางเข้ามาค้าขายในประเทศไทศไทย โดยที่ผู้เดินทางมานั้นจะนำเอกสารผ่านทาง ใส่มาในกระบอกไม้ไผ่ เมื่อมาถึงก็จะเปิดกระบอกไม้ไผ่ และนำเอกสารออกมาแสดง ต่อมาภายหลัง "อุ้มผะ" ก็เรียกเพี้ยนไปเป็น "อุ้มผาง" ตามสำเนียงไทยนั่นเอง

16.0188323, 98.8636111

เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 1,230


Google search

Mic

ไร่ปฐมเพชร

ไร่ปฐมเพชร

กุหลาบ” ไม้ดอกสัญลักษณ์แห่งความรัก ซึ่งความนิยมในดอกไม้ชนิดนี้นับวันมีแต่จะมากขึ้น ทำให้บางช่วงเวลาดอกกุหลาบถึงกับขาด

มะอ้า

มะอ้า

มะอ้า ต้นเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง ประมาณ 12-25 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดเป็นรูปทรงกลมแผ่กว้างทึบชั้นในสีชมพูแดงเรื่อ ๆใบเป็นช่อยาว ออกเรี

วัดพระบรมธาตุ

วัดพระบรมธาตุ

เป็นวัดพระอารามหลวงชั้นตรี บรรจุพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศศรีลังกาพญาลิไททรงประดิษฐานไว้เมื่อปี พ.ศ.1900 ประชาชนชาวกำแพงเพชรมีความศรัทธาต่อองค์พระธ

ประเพณีกินข้าวใหม่ของม้ง

ประเพณีกินข้าวใหม่ของม้ง

เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยรุ่นทวด-รุ่นปู่ ซึ่งม้งจะมีความเชื่อว่าจะต้องเลี้ยง ผีปู่-ผีย่า เพราะช่วงเวลาในหนึ่งรอบปี