ลอดช่องมะพร้าวเต่า
ลอดช่องมะพร้าว เป็นเอกลักษณ์อาหารของหวานที่แสดงถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวอุ้มผางที่สืบทอดกันมาเป็นเวลาประมาณ 80 ปีที่ค้นพบการทำแป้งมะพร้าวเต่าที่รสชาตินุ่มนวลยิ่งกว่าแป้งชนิดใดๆ กรรมวิธีในการในการทำแป้งมะพร้าวเท่านั้นนับว่ามีหลายขั้นตอน เริ่มจากเก็บผลมะพร้าวเต่าที่แก่แล้วนำมามากะเทาะเอาเนื้อมาตำหรือปั่นให้ละเอียด แล้วแช่น้ำให้ท่วมเทน้ำทิ้งประมาณ 5 ครั้ง แล้วนำแป้งที่ได้ไปตากแดดให้แห้ง ก่อนจะนำมาทำเป็นลอดช่องน้ำกะทิ ที่สืบทอดมานาน และความนิยมมีแต่จะเพิ่มข้นอย่างต่อเนื่อง
15.7853646, 98.1841452
เผยแพร่เมื่อ 27-11-2024 ผู้เช้าชม 81
ข้าวเบ๊อะ
ข้าวเบ๊อะ เป็นอาหารพื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยงในชุมชนบ้านกุยเลอตอ ซึ่งมีความสำคัญในการดำรงชีวิต โดยการทำข้าวเบ๊อะมีที่มาจากการใช้ข้าวเป็นอาหารหลักในครอบครัว
15.7853646, 98.1841452
เผยแพร่เมื่อ 27-11-2024 ผู้เช้าชม 121
แกงคั่วแห้งหรือแกงคั่วกะเหรี่ยง
แกงคั่วกะเหรี่ยงเป็นเอกลักษณ์ด้านอาหารอย่างหนึ่งที่บอกถึงวัฒนธรรมของพี่น้องชาวกะเหรี่ยง และคนไทยในอำเภออุ้มผาง ที่ทำอาหารจากของที่มีอยู่ในครัวเรือน ที่บอกถึงภูมิปัญญาของคนพื้นบ้านที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนานเกิน 100 ปี ที่เป็นความฉลาดของชาวบ้านในการถนอมอาหารที่มีรสชาติอร่อยโดยปรุงตามความนิยมของคนในบ้านในชุมชน
15.7853646, 98.1841452
เผยแพร่เมื่อ 27-11-2024 ผู้เช้าชม 216
Google search
-
ฐานข้อมูล - 153 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 113 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอคลองลาน
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอเมืองตาก_ตาก
- อำเภออุ้มผาง_ตาก
- อำเภอบ้านตาก_ตาก
- อำเภอแม่สอด_ตาก
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
การเชิดหุ่นกระบอกจากคณะสังวาลย์ศิลป์
หุ่นกระบอกอายุร่วมร้อยปี ถูกเก็บไว้อย่างดีในพิพิธภัณฑ์วัดพระบรมธาตุ จังหวัดตาก จากเดิมถูกเก็บไว้อยู่ในบ้านคุณยายเจียมจิตต์ บำรุงศรี ทายาทรุ่นที่ 3
สะพานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี
สะพานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี หรือที่เรียกว่า "สะพานแขวน" สร้างเมื่อ พุทธศักราช 2525 โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก เพื่อสมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร
เทศน์มหาชาติในเมืองตาก ภาษากลุ่มที่เลือนไปตามบริบท
ในระหว่างเทศกาลเข้าพรรษาตามหัววัดในชุมชนคนกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในตัวเมืองตาก ทั้งกลุ่มไทยพื้นถิ่น ลาว (ยวน) มอญ ฯลฯ ล้วนสืบสานประเพณีนี้กันทั้งสิ้
ลายขิด คือ การทอผ้าให้ลวดลายที่ปรากฏเหมือนกันทั้งผืน ลักษณะลายแบบยกดอกในตัว กะเหรี่ยงสะกอนิยมทอผ้าลายขิดเพื่อเย็บเป็นผ้าถุงสำหรับหญิงที่แต่งงานแล้ว