ตำนานศาลเจ้าพ่อจอมทอง
ศาลเจ้าพ่อจอมทอง มีเจ้าพ่อและเจ้าแม่จอมทองประทับอยู่ในศาล ทั้งนี้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจชาวไทยเชื้อสายจีนของชาวสลกบาตร และทุกปีจะมีการจัดงานประจำปีเจ้าพ่อเจ้าแม่จอมทองขึ้น เป็นประเพณีที่ สืบทอดต่อกันมาจะมีขึ้นเป็นประจำทุกวันที่ 20-24 ธันวาคม ของทุกปี เพื่อเป็นการเคารพสักการะเจ้าพ่อจอมทองที่ชาวตลาดสลกบาตรเคารพนับถือ ชาวตลาดสลกบาตรได้ร่วมมือร่วมใจกันจัดงานประเพณีแห่เจ้าพ่อจอมทอง เพื่อให้ประชาชนเคารพสักการะ การจัดขบวนแห่เจ้าพ่อจอมทองเป็นขบวนที่สวยงามและมีการแสดงที่ตื่นเต้นเร้าใจในขบวนแห่จะประกอบด้วยขบวนเอ็งกอ ล่อโก้ว ขบวนนางฟ้า สาวงามถือธง เด็กหาบกระเช้า การเชิดสิงโต และขบวนแห่มังกร ขบวนอัญเชิญเจ้าผู้เข้าทรง บางทีก็มีการลุยไฟ เหยีบขวด
15.9970326, 99.8037334
เผยแพร่เมื่อ 06-09-2019 ผู้เช้าชม 2,632
ตำนานบ้านดอนแตง
ในอดีตกาล นานประมาณ 700 กว่าปีมาแล้ว หมู่บ้านดอนแตงแห่งนี้เป็นหมู่บ้านซึ่งมีความเจริญรุ่งเรืองมาแล้ว มีท่านเศรษฐีที่ปกครองหมู่บ้านชื่อ "โกฏิเศรษฐี" เป็นผู้มีทรัพย์สมบัติมหาศาล และหมู่บ้านนี้ท่านให้ชื่อหมู่บ้าน "ดอนแตงใน" ท่านเศรษฐีที่ปกครองหมู่บ้านนี้มีบุตรีหรือธิดาสาวสวยอยู่คนหนึ่งว่า "นางสาวแตงอ่อน" มีอายุราว 16-17 ปี มีรูปร่างสวยงามยากที่จะหาหญิงใดเปรียบได้ เพราะเพียบพร้อมไปด้วยรูปสมบัติ คุณสมบัติเข้าหลักเกณฑ์ "เบญจกัลยาณี" ทุกประการ ข่าวนี้ก็เล่าลือแพร่สะพัดไปยังบ้านน้อยเมืองใหญ่ ใครต่อใครก็สดับก็ใคร่จะได้ไปสู่ขอมาเพื่อเป็นศรีสะใภ้สืบสกุลวงศ์ในบ้านเมืองของตัวเอง
16.0202541, 99.3790042
เผยแพร่เมื่อ 04-09-2019 ผู้เช้าชม 1,394
Google search
-
ฐานข้อมูล - 153 ประวัติความเป็นมา
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอลานกระบือ
- 113 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
กลุ่มวัดในเขตอรัญญิกเมืองนครชุมแตกต่างจากกลุ่มวัดในเขตอรัญญิกเมืองกำแพงเพชร คือส่วนใหญ่นิยมสร้างด้วยอิฐ ขนาดสิ่งก่อสร้างไม่ใหญ่โตมากนัก วัดที่สำคัญ
อย่างไรจึงเรียกว่า "กล้วยไข่เมืองกำแพง" กล้วยไข่สายพันธุ์กำแพงเพชร จะมีลักษณะลำต้นตรงกาบด้านนอกเป็นสีเขียวอมเหลือง และกาบด้านในเป็นสีชมพูอมแดง มีลั
ค่าว วรรณศิลป์พื้นถิ่น ในย่านคนลาว(ยวน) ที่หัวเดียด
ค่าว คือ กลอน คำประพันธ์พื้นบ้าน ที่ต้องอาศัยความชาญฉลาดของผู้แต่งในด้านคำสัมพันธ์ เสียงเสนอะ และต้องมีความเชี่ยวชาญในด้านภาษาถิ่นด้วย ชุมชนหัวเดีย
โป่งข่าม หรือ แก้วโป่งข่าม เป็นแร่ตระกูลควอทซ์ (Quartz) เป็นแร่รัตนชาติ มีค่าความแข็งอยู่ในอันดับที่ 7 ตามมาตรความแข็งของโมส์ (Moh’s scale of