บ้านท่าสองยาง
บ้านท่าสองยาง เป็นชุมชนที่มีทัศนียภาพที่งดงาม อยู่บริเวณชายแดนประเทศไทย ที่ติดกับประเทศเมียนมา โดยมีแม่น้ำเมยกั้น ซึ่งระหว่างช่องทางการติดต่อระหว่าสองประเทศนี้มีต้นยางขึ้นอยู่ จึงเรียกกันว่า บ้านท่าช่องยาง แต่มีการเรียกเพี้ยนกันมาว่า บ้านท่าสองยาง แต่บ้างก็ว่าเกิดจากจุดเริ่มต้นของการตั้งหมู่บ้านชาวยาง จำนวน 2 ครอบครัว ที่มาอยู่ก่อนเป็นครอบครัวแรก จึงเป็นที่มาว่าชื่อ บ้านท่าสองยาง
17.57130102, 97.91460469
เผยแพร่เมื่อ 11-12-2024 ผู้เช้าชม 36
ประวัติท่าสองยาง
อำเภอท่าสองยาง เดิมมีฐานะเป็นกิ่งอำเภอขึ้นอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2491 ได้โอนมาขึ้นกับอำเภอแม่สอด จังหวัดตากและเมื่อปี พ.ศ. 2494 กิ่งอำเภอแม่ระมาด ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอ กิ่งอำเภอท่าสองยาง จึงโอนไปขึ้นอยู่กับอำเภอแม่ระมาดแล้วจึงได้ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2501 จนถึงปัจจุบันนี้
17.46764, 97.8265397
เผยแพร่เมื่อ 15-08-2018 ผู้เช้าชม 5,060
Google search
-
ฐานข้อมูล - 152 ประวัติความเป็นมา
- อำเภอเมืองกำแพงเพชร
- อำเภอโกสัมพีนคร
- อำเภอคลองขลุง
- อำเภอไทรงาม
- อำเภอคลองลาน
- อำเภอขาณุวรลักษบุรี
- อำเภอพรานกระต่าย
- อำเภอทรายทองวัฒนา
- อำเภอปางศิลาทอง
- อำเภอบึงสามัคคี
- อำเภอลานกระบือ
- อำเภอเมืองตาก_ตาก
- อำเภออุ้มผาง_ตาก
- อำเภอพบพระ_ตาก
- อำเภอวังเจ้า_ตาก
- อำเภอบ้านตาก_ตาก
- อำเภอสามเงา_ตาก
- อำเภอแม่สอด_ตาก
- อำเภอแม่ระมาด_ตาก
- อำเภอท่าสองยาง_ตาก
- 171 แหล่งท่องเที่ยว
- 37 บุคคลสำคัญ
- 190 ประเพณีและวัฒนธรรม
- 122 พระเครื่อง
- 57 วรรณกรรมพื้นบ้าน
- 107 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- 107 อาหารพื้นบ้าน
- 141 โบราณสถาน
- 445 สมุนไพรพื้นบ้าน
- 154 ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
- 56 โบราณวัตถุ
- 102 หน่วยงานราชการ
- 171 โรงแรมและที่พัก
- 45 ของฝาก
ต้นไทรย้อย มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย อินเดีย และภูมิภาคมาเลเซีย จัดเป็นไม้ยืนต้นหรือพุ่มไม้ผลัดใบขนาดกลาง ที่มีความสูงได้ประมาณ 5-15 เมตร ลำต้น
สืบเนื่องจากผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายเทพ ไสยานนท์) ได้มีหนังสือ ลงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2521 ถึงปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายงานผลการไป
"วัดช้างรอบ" ซึ่งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร วัดช้างรอบ เป็นวัดใหญ่ตั้งอยู่บนเนินสูง มี
ต้นเถาพันซ้าย จัดเป็นไม้เถาเนื้อแข็งเลื้อยพันขนาดใหญ่ มีความยาวได้ถึง 20 เมตร ลำต้นมีลักษณะกลม มักขดเป็นวง มีขนสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกชั้น